myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com ผู้อัญเชิญท่านท้าวมหาพรหม ประดิษฐาน ณ โรงแรมเอราวัณ http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35112.html <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โดยทองทิว สุวรรณทัต</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;เดลินิวส์&rdquo; อาทิตย์ที่ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">25 <span lang="TH">ธันวาคม </span>2531<o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7">&nbsp;</p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ข้าพเจ้าเชื่อว่า ยังมีท่านผู้อ่านหลายท่านที่ยังไม่เคยทราบว่าศาลท่านท้าวมหาพรหม ณ โรงแรมเอราวัณ สี่แยกราชประสงค์ ซึ่งมีผู้ไปกราบไหว้ขอพรจากท่านจำนวนมากมายเหลือเกินนั้น ท่านผู้ใดเป็นผู้แนะนำให้ตั้งศาลและอัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมเสด็จลงมาประทับเพราะผู้ที่จะกระทำพิธีนั้นได้จะต้องเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในทางวิปัสสนา ศาสนาธุระมาเป็นอย่างสูง มิฉะนั้นจะไม่เก่งกล้าสามารถติดต่อท่านท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์มายังโลกได้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ข้าพเจ้าเองก็หลงเข้าใจผิดมาหลายปี ว่าท่านอาจารย์คนนั้น อาจารย์คนนี้ เป็นผู้กระทำพออยู่มาจึงได้ทราบความจริงนี้จากผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือและได้เล่าประวัติของโรงแรมเอราวัณ ท่านผู้มีคุณวุฒิอันสูงส่งทางญานสมาธิและวิปัสสนาธุระเป็นผู้กระทำพิธีตั้งศาลท่านท้าวมหาพรหม และอัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมลงมาประทับให้เราได้กราบไหว้จนทุกวันนี้ คือ พล</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">.<span lang="TH">ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น.</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ที่โรงแรมเอราวัณนั้น มีศาลท่านท้าวมหาพรหม ที่เป็นที่รู้จักกันดี ลองมาทำความรู้จักกับ พลเรือตรีหลวงสุวิชานแพทย์ ผู้ติดต่อและอัญเชิญ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อทางรัฐบาลมีความเห็นว่า โรงแรมเอราวัณอันเป็นโรงแรมที่เชิดหน้าชูตาของเมืองไทยสมัย ๒๐ กว่าปีมานี้เล็กเกินไป ไม่สามารถรองรับนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศได้เพียงพอ จึงสั่งการรื้อถอนเพื่อสร้างเป็นโรงแรมใหม่นั้น ประชาชนคนไทยส่วนมากที่เคยไปสักการะท่านท้าวมหาพรหม ที่มุมโรงแรมเอราวัณ สี่แยกราชประสงค์ ต่างพากันใจหายใจคว่ำ เกรงว่าทางราชการจะรื้อศาลที่ท่านท้าวมหาพรหมสถิตอยู่ แต่ทุกวันนี้ศาลดังกล่าวก็ยังคงอยู่เหมือนเดิมเพราะไม่มีใครกล้าไปแตะต้อง แม้โรงแรมเอราวัณจะถูกทุบทิ้งไปแล้วก็ตาม ทั้งนี้ด้วยผู้ใหญ่ในรัฐบาลท่านทราบดีถึงประวัติความเป็นมาของศาลท่านท้าวมหาพรหม ซึ่งน้อยคนนักที่จะรู้จึงจะขอนำมาเล่าในวันนี้ เพื่อเป็นการยืนยันว่า สิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นมีจริง วิญญาณของเทพเบื้องบนนั้นมีจริง ผู้ปฏิบัติธรรมชั้นสูงเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อได้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; line-height: 18.75pt; text-indent: 50pt;">และท่านผู้นั้นก็คือ ท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. อดีตนายแพทย์ใหญ่กรมแพทย์ทหารเรือ ผู้เพียรปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานจนได้ญาณพิเศษ ที่เรียกว่าพุทธญาณบารมี อันได้แก่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และมีอำนาจจิตอันเป็นที่ยอมรับนับถือจากประชาชนคนทั่วไป ตลอดจนนักปฏิบัติธรรมทั้งหลายมาช้านานตราบท่านถึงแก่อนิจกรรม</span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เรื่องนั้นมีอยู่ว่า เนื่องจากในสมัยเริ่มก่อสร้างโรงแรมเอราวัณใหม่ ๆ นั้น มีอุปสรรคมากมายอย่างไม่คาดฝัน อาทิ การสั่งซื้อสิ่งของและอุปกรณ์มาแล้วใช้ไม่ได้ เพราะผิดขนาดและผิดความต้องการของฝ่ายช่างเสมอ ทั้งคนงานก็กระทำผิดวัตถุประสงค์ ต้องแก้ไขทำใหม่ เป็นเหตุให้เสียเวลาอยู่เป็นนิจ</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">ข้อสำคัญที่สุดก็คือ ไม่ว่าช่างปูน ช่างเหล็ก มักจะประสบอุบัติเหตุถึงแก่เลือดตกยางออก อันเป็นสาเหตุให้คนงานเสียขวัญไปตาม ๆ กัน จึงทำให้ผลงานล่าช้ายิ่งขึ้นจนถึงจะทำให้การก่อสร้างโรงแรมเอราวัณหยุดชะงักได้</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เมื่อความทราบถึง พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจ</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">และประธานกรรมการบริหารโรงแรมเอราวัณ</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">ในสมัยนั้นว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จไม่ทันตามกำหนด ท่านจึงได้เรียกประชุมคณะกรรมการบริหาร</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เพื่อปรึกษาหารือถึงวิธีแก้ไขความล่าช้าในการก่อสร้างโรงแรม ซึ่งได้มีผู้ใหญ่ท่านหนึ่งได้แนะนำให้ พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ ติดต่อขอความช่วยเหลือจากท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ เป็นการด่วน ด้วยเหตุว่า ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เป็นผู้ที่สามารถหยั่งรู้เหตุการณ์ที่มิชอบด้วยประการทั้งปวง และมีความสามารถในทางมหัศจรรย์ที่คนธรรมดาสามัญไม่สามารถจะรู้เท่าทันท่านได้</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ ได้ฟังคำแนะนำเช่นนั้น ประกอบกับเคยได้ยินกิตติศัพท์ของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ มาแล้วจึงรับคำแนะนำของผู้ใหญ่ท่านนั้นและได้มอบหมายให้ พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ ณ อยุธยา ผู้ควบคุมการก่อสร้างโรงแรมเอราวัณไปติดต่อหารือท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เพื่อขอให้ท่านกรุณาตรวจดูว่า อุปสรรคทั้งหลายในการก่อสร้างโรงแรมเอราวัณนี้มีมูลเหตุมาจากสิ่งใด และจะมีวิธีแก้ไขให้หมดสิ้นไปได้อย่างไร เพื่อให้การก่อสร้างเสร็จตามกำหนด</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เมื่อ พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ฯ ได้ไปพบท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ แล้ว ได้เรียนให้ท่านทราบเรื่องราวโดยละเอียด ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ นั่งสมาธิตรวจดูเหตุการณ์ต่าง ๆ จึงได้พบว่า สาเหตุใหญ่ที่ทำให้เกิดอุปสรรคนานาประการในการก่อสร้างโรงแรมเอราวัณครั้งนี้มาจากการตั้งชื่อโรงแรมแห่งนี้ว่า </span><span style="font-size: 11pt;">&ldquo;<span lang="TH">เอราวัณ</span>&rdquo; <span lang="TH">นั่นเอง เพราะคำว่า </span>&ldquo;<span lang="TH">เอราวัณ</span>&rdquo; <span lang="TH">นี้เป็นนามของ ช้างทรงของพระอินทร์</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">จากนั้นท่านได้แนะนำให้ พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ฯ ฟังว่า</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">การก่อสร้างโรงแรมอันเป็นสถานที่ชุมนุมของบุคคลทุกประเภท ที่เข้ามาเช่าเช่นนี้ จะต้องแก้ไขด้วยการบอกกล่าว ขออำนาจต่อท่านท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์ ขอบารมีของพระองค์ท่าน จงดลบันดาลให้สิ่งที่ร้ายทั้งหลายกลับกลายเป็นดี การก่อสร้างโรงแรมนี้จึงจะลุล่วงได้ทันตามกำหนด และเมื่อได้ก่อสร้างโรงแรมเรียบร้อยแล้ว จะต้องตั้งศาลท่านท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์ถวายแด่พระองค์ท่านทันที</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">หลังจากที่ได้รับคำแนะนำจากท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯดังนั้นแล้ว พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ฯ รีบนำความมาเรียนแก่ พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ ให้ทราบ พล.ต.อ. เผ่า จึงมอบหมายให้ พล.ต.ต. ม.ล. จเร ดำเนินการอย่างเร่งด่วน</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">ครั้นการบนบานศาลกล่าวต่อท่านท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์ เรียบร้อยแล้ว การก่อสร้างโรงแรมก็เสร็จทันตามกำหนด พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ฯ จึงได้เชิญท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ มาพิจารณาสถานที่ที่จะตั้งศาลถวายท่านท้าวมหาพรหม และปรากฏว่าพระองค์ท่านโปรดตรงมุมของโรงแรมด้านสี่แยกราชประสงค์</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">สำหรับศาลของท่านท้าวมหาพรหมนี้ คุณเจือระวี ชมเสวี กับ ม.ล. ปุ่น มาลากุล เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ ส่วนพระรูปหล่อจำลองนั้น คุณจิตร พิมโกวิท ช่างโทในสมัยนั้นที่ประจำแผนกกองหัตถศิลป กรมศิลปากร เป็นช่างปั้นตามแบบแผนของกรมศิลปากร โดยการค้นคว้าของ พระยาอนุมานราชธน</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เมื่อสร้างศาลท่านท้าวมหาพรหมเสร็จแล้ว จึงได้ประกอบพิธีอัญเชิญขึ้นประทับเมื่อ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๙ โดย ท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. ได้มอบหมายให้คุณประยูร วงศ์ผดุง เป็นผู้ทำพิธี ด้วยการติดต่อทางจิตผ่านท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ซึ่งเป็นผู้ชี้แนะทั้งสิ้น</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">เรื่องราวมหัศจรรย์เกี่ยวกับองค์ท่าน </span><span style="font-size: 11pt;">&ldquo;<span lang="TH">ท้าวมหาพรหม</span>&rdquo; <span lang="TH">ที่โรงแรมเอราวัณนี้ เมื่อครั้งที่ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ยังมีชีวิตอยู่ท่านเคยเล่าถึงองค์เทพที่สถิตอยู่ในองค์รูปปั้นท่านท้าวมหาพรหมว่า แท้ที่จริงก็คือทิพย์วิญญาณ </span>&ldquo;<span lang="TH">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว</span>&rdquo; <span lang="TH">พระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่งในรัชกาลที่ ๔ ของกรุงรัตนโกสินทร์นั่นเอง</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">จากการตรวจด้วย </span><span style="font-size: 11pt;">&ldquo;<span lang="TH">ทิพยจักษุ</span>&rdquo; <span lang="TH">และการติดต่อทิพย์วิญญาณทางสมาธิ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ได้เล่าถึงพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากที่พระองค์ท่านเสด็จสวรรคตแล้วได้ไปบังเกิดบนสรวงสวรรค์ชั้นพรหม ทางมีตำแหน่งหน้าที่เป็นรองท่านท้าวมหาพรหมและได้รับพระนามใหม่ว่า </span>&ldquo;<span lang="TH">ท่านท้าวเกศโร</span>&rdquo; <span lang="TH">ซึ่งเมื่อ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ได้ทำพิธีประดิษฐานพระรูปปั้นขององค์ท่านท้าวมหาพรหม จึงได้อัญเชิญพระวิญญาณให้มาสถิตอยู่ที่พระรูปปั้นด้วย เพื่อให้ช่วยปัดเป่าความทุกข์ยากและความเดือดร้อนของประชาชนที่มาสักการะ ตามปกติพระองค์จะเสด็จประทับยังศาลในตอนค่ำของทุกวัน ยกเว้นวันพระ เพราะพระองค์เสด็จไปเฝ้าพระพุทธองค์</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt;">อนึ่ง การไปขอความช่วยเหลือจากพระองค์ ณ ศาลท่านท้าวมหาพรหมนั้น ถ้าเป็นการกราบไหว้บูชาธรรมดาก็ใช้ดอกไม้สดหรือพวงมาลัยดอกไม้สด ธูป ๗ ดอก เทียน ๑ เล่ม หากเป็นการแก้บนจึงควรถวายด้วยพวงมาลัยที่ร้อยด้วยดอกไม้สดต่างๆ ๗ สี ยาว ๗ ศอก ธูป ๙ ดอก เทียน ๑ เล่ม สำหรับดอกไม้สดนั้น พระองค์ท่านโปรดดอกกุหลาบสีแดง ทั้งนี้มิใช่ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ กำหนดขึ้นเอง แต่ทราบได้โดยการติดต่อทางจิตด้วยญาณพิเศษของท่าน ดังได้กล่าวมาแล้ว</span><span style="font-size: 11pt;"><o:p></o:p></span></p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “เดลินิวส์” อาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2532 ผีขว้างบ้านคน http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35114.html <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โดยทองทิว สุวรรณทัต</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;เดลินิวส์&rdquo; อาทิตย์ที่ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">8 <span lang="TH">มกราคม </span>2532<span lang="TH"> </span><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ผีขว้างบ้านคน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ในปัจจุบันนี้ ผู้คนมีความทุกข์กันเหลือเกิน ทั้งนี้จะเห็นได้จากจำนวนผู้โทรศัพท์ไปหาผู้เขียนมากกว่าแต่ก่อนมากมาย ส่วนมากจะเกี่ยวกับการเจ็บไข้ได้ป่วย หรือไม่ก็ประสบปัญหาส่วนตัว ซึ่งจำต้องหาท่านผู้ทรงคุณธรรมอันวิเศษมาแก้ไข และด้วยเหตุนี้จึงมีผู้บ่นถึง ท่าน พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น.อยู่เสมอ เพราะถ้าจะพูดไปแล้ว หลังจากท่านถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ก็ดูจะหาบุคคลที่ประเสริฐเช่นท่านได้ยากยิ่งนัก ยากยิ่งเหมือนงมเข็มในมหาสมุทรนั่นเทียว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แต่อะไรไม่สำคัญเท่ากับที่มีผู้อ่านหลายท่านต่อว่ามาว่า ผู้เขียนยังลงชีวประวัติของท่านอาจารย์หลวงสุวิชานแพทย์ ไม่หมด ทั้งๆ ที่ผู้เขียนเคยลงใน </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">เดลินิวส์</span>&rdquo; <span lang="TH">เมื่อสองปีก่อนมาแล้ว</span><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ผู้เขียนหยิบต้นฉบับเก่าๆ มาอ่านทวนซ้ำ ก็เห็นจริง ยอมสารภาพ ฉะนั้น ในวันนี้เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระคุณของท่านอาจารย์หลวงสุวิชานแพทย์ที่ท่านช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์ของเพื่อนมนุษย์มานับไม่ถ้วน ประการหนึ่ง และเพื่อเป็นการสนับสนุนในเรื่องวิญญาณมีจริง อีกประการหนึ่ง ผู้เขียนจึงขอเล่าถึงคุณวิเศษของท่านอาจารย์ให้ฟังเป็นการเพิ่มเติมอีกครั้งหนึ่งดังต่อไปนี้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์ ดร.คลุ้ม วัชโรบล เคยเล่าว่า เมื่อสมัยท่านยังชอบไปเล่นเทนนิสที่สมาคมแพทย์ ซึ่งเป็นโรงแรมดุสิตธานีในปัจจุบัน เด็กเก็บลูกเทนนิสเล่าให้ท่านฟังว่า ใกล้ๆ กับที่นั้นมีบ้านอยู่หลังหนึ่ง ถูกผีขว้างบ้านแทบทุกคืน จนอิฐเกลื่อนหลังคา เจ้าของบ้านถึงกับจ้างตำรวจมาล้อมบ้านแต่ก็จับไม่ได้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์ ดร.คลุ้ม ก็มาคิดว่าแปลกอยู่</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ต่อมาวันหนึ่งท่านก็ไปพบ คุณเทียน กรรณสูตซึ่งอยู่สมาคมกรีฑาเช่นเดียวกัน ท่านเห็นว่าบ้านของคุณเทียนอยู่ศาลาแดงแถวๆ นั้น อาจจะรู้เรื่องนี้บ้าง ท่านก็เลยถามคุณเทียน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">คุณอยู่ศาลาแดง คุณรู้เรื่องผีขว้างบ้านคนหรือเปล่า</span>? <span lang="TH">บ้านไหนก็ไม่รู้</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณเทียนก็หัวร่อร่าบอกว่า </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">บ้านผมเองครับ!</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แล้วคุณเทียนก็เล่าให้ท่านอาจารย์ ดร.คลุ้มฟังว่า บ้านของคุณเทียนนั้นมีใครก็ไม่ทราบขว้างอิฐเข้ามาในบ้านเกลื่อนเลย บางวันนั่งอยู่ในห้องกว้างๆ อยู่ๆ ก็มีจานข้าวบินจากหน้าต่างด้านนี้ออกไปทางหน้าต่างด้านโน้น บางทีของที่ตั้งอยู่บนตู้ก็ตกลงมากลางบ้าน บางคืนแขกที่เฝ้ายามก็เห็นคนเดินไปเดินมาอยู่ในอู่ พอไขกุญแจเข้าไปดูก็หายไป ไม่เห็นมีใครอยู่ในนั้น แล้ววันหนึ่งก็มีใครไม่ทราบขว้างไม้เต็งท่อนหนึ่งขนาดสี่คนยก ที่เขาวางพาดท้องร่องขึ้นไปค้างอยู่บนหลังคา</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณเทียนเห็นเหตุการณ์ชักจะไม่ได้เรื่องเข้าทุกวันเช่นนี้ ก็ไปเชิญ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ มานั่งสมาธิตรวจดู</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านก็บอกว่า </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">อ๋อ! นี่ไม่ใช่ผีสางอะไรหรอก นี่เกิดจากศาลพระภูมิเหมือนกัน เพราะแต่เดิมที่ตรงนี้มีสองเจ้าของ ต่างคนต่างก็มีศาลพระภูมิ พอคุณเทียนมาซื้อ ก็รื้อรั้วออก ย้ายศาลพระภูมิมาไว้ข้างๆ กัน ทีนี้ศาลพระภูมิทั้งสองไม่ถูกกัน ทะเลาะกันใหญ่ เรียกว่าเสือสองตัวอยู่ถ้ำเดียวกันไม่ได้ จึงเป็นเหตุให้เกิดเรื่องขว้างปากันขึ้น</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณหลวงสุวิชานฯ จึงแนะนำให้แยกศาลพระภูมิออกจากกัน ตั้งแต่นั้นมาเหตุการณ์ก็สงบ มีคนถามท่านอาจารย์ ดร.คลุ้มว่า </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">อาจารย์ฟังแล้วเชื่อไหม</span>?&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านตอบว่า </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ผมเชื่อ! ผมไม่ใช่คนหัวรั้น ใครบอกอะไรก็เชื่อไว้ก่อน แล้วหาข้อพิสูจน์ทีหลัง ผมมองคนในแง่ดีเสมอ ก็เขาเป็นเจ้าของบ้าน เขาเป็นคนเล่า เราก็น่าจะเชื่อ</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">วิญญาณที่ ศ.อ.ศ.อ.</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านรัฐมนตรีอภัย จันทวิมล อดีตรัฐมนตรีศึกษาธิการ เคยเล่าให้ฟังว่า เมื่อครั้งท่านติดตาม พล.อ. มังกร พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยนั้นไปพักผ่อนที่แก่งสะพือ อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานีนั้น รถยนต์ที่โดยสารไปคว่ำกลางทาง อาจารย์ฝรั่งถึงแก่ซี่โครงหัก ส่วนตัวท่านฟกช้ำดำเขียว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านเล่าต่อไปว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ในปีต่อมา ข้าพเจ้าได้รับแต่งตั้งจากคุรุสภา ให้เป็นผู้อำนวยการ ช.ศ.ร. (การชุมนุมเพื่อการศึกษาระหว่างภาคเรียนฤดูร้อน) ณ จังหวัดอุบลราชธานี และได้มีการจัดให้ผู้เข้าร่วมชุมนุมไปทัศนาจรเมืองเรณูนคร อ.ธาตุพนม จ.นครพนม กิจการได้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย แต่รถยนต์ฟอร์ดคันที่ข้าพเจ้าโดยสารไปกับบุตรชายชื่อ อากร และบุตรีหญิงชื่อ อรพินทร์ เกิดคันส่งหลุด รถคว่ำตกถนนไปอยู่ข้างทางที่อำเภอม่วงสามสิบ คนขับรถกับบุตรสองคนไม่ได้รับบาดเจ็บ แต่ข้าพเจ้าเคราะห์ไม่ดี นั่งหน้าคู่กับคนขับรถถูกกระจกหน้ารถชนริมฝีปากบนแตก เลือดไหลต้องกลับมาให้ นายแพทย์ชลวิชช์ ชุติกร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลอุบลราชธานี เย็บบาดแผลให้ถึง ๑๒ เข็ม</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">หลังจากนี้ข้าพเจ้าทราบว่า คุณหลวงสุวิชานแพทย์ เป็นผู้ที่มีความสามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆ ว่าเกิดขึ้นเพราะเหตุไร ข้าพเจ้าจึงปรารถนาที่จะไปปรึกษาท่านว่าเป็นเพราะเหตุไร ข้าพเจ้าจึงประสบอุบัติเหตุรถคว่ำบ่อยๆ ข้าพเจ้าไม่รู้จักกับคุณหลวงสุวิชานแพทย์ เป็นการส่วนตัว แต่ทราบว่าเพื่อนของข้าพเจ้าคนหนึ่ง คือ นายชุณห์ อรุณโรจน์คุ้นเคยกับคุณหลวงสุวิชานแพทย์ ข้าพเจ้าจึงได้ขอให้พาข้าพเจ้าไปพบคุณหลวงสุวิชานแพทย์และเมื่อพบกันแล้ว ข้าพเจ้าก็ได้เล่าเรื่องต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นให้ท่านฟัง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณหลวงสุวิชานแพทย์ นั่งหลับตาเข้าสมาธิอยู่ครู่หนึ่ง แล้วก็บอกกับข้าพเจ้าว่าที่ตั้งของ ศ.อ.ศ.อ. ตั้งอยู่ในรัศมีของหนองน้ำอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีดวงวิญญาณของบุคคลที่ตายไปนานแล้วยังสิงสู่อยู่ในบริเวณ ดวงวิญญาณนั้นยังอาละวาดอยู่ จึงทำให้ข้าพเจ้าประสบอุบัติเหตุรถคว่ำอยู่เนืองๆ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ข้าพเจ้าได้ชี้แจงว่า ในระหว่างที่ปฏิบัติงานที่ ศ.อ.ศ.อ. ก็ได้มีการบำเพ็ญกุศลและประกอบพิธีสงฆ์ตามประเพณีอยู่เสมอ แต่คุณหลวงสุวิชานแพทย์บอกว่าการบำเพ็ญกุศลเช่นนั้นยังไม่ถึงดวงวิญญาณที่สิงสู่อยู่ที่ ศ.อ.ศ.อ. ท่านจึงแนะนำให้ข้าพเจ้านิมนต์พระ ๕ รูป มาฉันภัตตาหารเพล.ที่ ศ.อ.ศ.อ. แล้วกรวดน้ำโดยกล่าวว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ขออุทิศส่วนกุศลให้แก่วิญญาณที่สิงสู่อยู่ ณ ที่นี้ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ครั้นข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามคำของคุณหลวงสุวิชานแพทย์และมีการจัดตั้งศาลพระภูมิที่ ศ.อ.ศ.อ. ด้วย นอกจากนั้น นายประมูล พลโกษฐ์ ผู้อำนวยการ ศ.อ.ศ.อ. คนปัจจุบันก็เคยบอกแก่ข้าพเจ้าว่า ที่ ศ.อ.ศ.อ. มีดวงวิญญาณของพระเจ้าชัยบุรี สถิตอยู่ อย่างไรก็ดีภายหลังที่ทำบุญเลี้ยงพระ ๕ รูป และอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณที่สิงสู่อยู่ ณ ที่นี้จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด ข้าพเจ้าก็มิได้ประสบอุบัติเหตุรถยนต์คว่ำอีกเลย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โรงละครแห่งชาติ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ท่าน พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. ได้กล่าวถึงการคิดทำงานใหญ่ของบุคคลสำคัญ</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ที่มักจะมองข้ามการเซ่นบวงสรวงต่อเจ้าที่เจ้าทาง อย่างเช่นการก่อสร้างโรงละครแห่งชาติของกรมศิลปากร</span><span class="apple-converted-space"><i><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">&nbsp;</span></i></span><span class="italic-11pt-green-nb"><i><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">(<span lang="TH">ทดแทนหลังเก่าที่ถูกเพลิงไหม้ไปเมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๓ และได้รับงบประมาณเพื่อสร้างใหม่ และทำพิธีวางศิลาฤกษ์ในปี ๕ ธ.ค. ๒๕๐๓)</span></span></i></span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">นั้น เดิมที คุณหลวงวิจิตรวาทการ อดีตปลัดบัญชาการ สำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการจัดสร้าง แต่ยังไม่ทันที่ผลงานจะเรียบร้อย อดีตปลัดบัญชาการก็ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน ในในวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕</span><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจร (ครั้งเมื่อเป็นพลเอก ตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี) ได้รับมอบหมายแทน เพียงเริ่มผลงาน ประธานคนใหม่ก็ล้มเจ็บลง</span><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ได้รับเชิญให้ไปตรวจสอบสถานที่ดู</span><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">ปรากฏว่า สถานที่ก่อสร้างโรงละครแห่งชาติเดิมเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (ในรัชกาลที่ ๔) และการก่อสร้างไม่ได้ขออนุญาตก่อน เลยมีเหตุบันดาลให้เป็นไป</span><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">เมื่อเป็นดังนั้นจึงต้องทำพิธีบวงสรวงขอขมาลาโทษ และจะจัดสร้างพระบรมรูปถวายเมื่อโรงละครแห่งชาติสร้างเสร็จแล้ว</span><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">นับแต่วาระนั้น ท่านจอมพลถนอมกิตติขจร ก็หายวันหายคืน</span><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif'"><o:p></o:p></span></p> Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “เดลินิวส์” อาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม 2532 http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35115.html <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โดยทองทิว สุวรรณทัต</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;เดลินิวส์&rdquo; อาทิตย์ที่ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">8 <span lang="TH">กรกฎาคม </span>2532<span lang="TH"> </span><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">หลังจากที่ลงเรื่อง </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ท่านอาจารย์ พล.ร.ต. สุวิชานแพทย์ ร.น. ผู้อัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมประทับที่โรงแรมเอราวัณ</span>&rdquo; <span lang="TH">ไปเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว ได้มีผู้อ่านโทรศัพท์ไปหาผู้เขียนหลายท่านขอร้องให้เล่าเกี่ยวกับคุณธรรมอันประเสริฐของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เพิ่มเติม เพราะบางคนเพียงแต่เคยได้ยินกิตติคุณของท่านที่ร่ำลือกันมาจนทุกวันนี้ ส่วนรายละเอียดต่างๆ ไม่ใคร่จะทราบนัก</span><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้เขียนขอเล่าต่อดังนี้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:20.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ครั้นผู้เขียนเรียนจบมัธยมปีที่ ๖ จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ปากคลองตลาดใหม่ๆ เพื่อนของผู้เขียนคนหนึ่งชื่อ พ.อ. เจตน์ จารุตามระ (ถึงแก่กรรมไปแล้ว) ชักชวนลงเรือข้ามฟากจากฝั่งพระนครไปกราบท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ณ บ้านของท่านที่อยู่ทางสะพานพระปิ่นเกล้าในปัจจุบัน</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เพื่อขอความกรุณาให้ท่านช่วยเหลือเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยของญาติผู้ใหญ่ที่กำลังมีอาการค่อนข้างหนัก</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ครั้นไปถึงบ้านท่านแล้ว เราก็ต้องรับบัตรที่ทางบ้านของท่านจัดเอาไว้ให้แล้วนั่งรอจนกว่าจะถึงคิวของตัว ซึ่งก็กินเวลาเป็นชั่วโมง เพราะคนที่มาพึ่งท่านก่อนหน้าเรามีเป็นจำนวนไม่น้อย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อถึงคิวของเจตน์แล้ว เขาก็ชวนผู้เขียนเข้าไปกราบท่าน หลังจากทำความเคารพ เพื่อนยังไม่ทันจะเอ่ยปากเล่าเรื่องให้ท่านฟังสักคำ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ก็ทักขึ้นเสียก่อนว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">คุณป้าของเรายังไม่ถึงที่ตายดอก กลับไปนี่ให้ท่านทำสังฆทานไปถวายพระแล้วกรวดน้ำอุทิศกุศลไปให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาที่รักษาอายุ อีกไม่กี่วันก็หาย ยังไม่สิ้นอายุ</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ต่อมาอีกสาม</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">-<span lang="TH">สี่วัน ญาติผู้ใหญ่ของเพื่อนผู้เขียนก็ลุกเดินเหินได้ และอยู่มาอีกหลายปี จึงถึงแก่กรรม</span><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><a name="ช่วยครอบครัวและเพื่อนบ้านให้รอดตาย"><b><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></a></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">ช่วยครอบครัวและเพื่อนบ้านให้รอดตาย</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เรื่องที่มหัศจรรย์อีกเรื่องหนึ่งก็คือ เมื่อครั้งสงครามมหาเอเชียบูรพา ปี พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๘๙ นั้น ระยะเวลาดังกล่าว นอกจากท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ จะได้ช่วยเหลือปัดเป่าความทุกข์ของคนทั้งหลายแล้ว ท่านยังได้ช่วยให้ครอบครัวของท่าน และเพื่อนบ้านใกล้เคียงรอดพ้นจากความตายอย่างหวุดหวิดอีกด้วย แต่ภัยสงครามในครั้งนั้น ทำให้ท่านเกือบหมดตัวเพราะบ้านเรือนถูกลูกระเบิดพังทลายจนหมดสิ้น</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">กล่าวคือ ในคืนวันหนึ่ง เสียงสัญญาณภัยทางอากาศก็ดังขึ้นท่ามกลางความเงียบสงัด ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ลุกขึ้นจากที่นอนทันทีทันใด แล้วรีบเข้าไปกราบพระพุทธรูปที่ท่านบูชา ครั้นสังเกตเห็นควันธูปที่จุดไม่ลอยขึ้นเบื้องสูง แต่กลับลอยวนเวียนเป็นวงกลม ท่านจึงนั่งสมาธิ ตรวจดูทราบว่า </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">เป็นครั้งสุดท้าย</span>&rdquo; <span lang="TH">ก็รีบลงจากบ้านเร่งบุตรของท่านออกเดินทางเข้าสวน (สวน คือ บริเวณสี่แยกอรุณอัมรินทร์ เชิงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าในปัจจุบัน) โดยด่วน</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ฝ่ายชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงเห็นท่านอาจารย์ลงจากเรือนรุดเข้าสวนดังกล่าว ต่างก็พากันตะโกนบอกต่อๆ กันว่า คืนนี้คุณหลวงออกไปด้วย</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คืนนี้คุณหลวงออกไปด้วย! แล้วรีบเข้าไปพาคนในบ้านที่ยังหลงเหลือไว้เฝ้าบ้าน</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ให้ออกจากเรือนของตนตามๆ กัน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ขณะนั้นเครื่องบิน บี</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">๒๙ เริ่มลดระดับลงบินต่ำ และวนเวียนถี่เข้าทุกขณะ พอท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ พาบุตรของท่านเร่งเดินไปถึงทางเลี้ยวเข้าสวนเท่านั้น บี</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">๒๙ ก็โฉบต่ำลงมาทิ้งลูกระเบิดทันที!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ปรากฏว่ารุ่งเช้าเห็นที่ดินบ้านของท่านถูกระเบิดทำลาย ตัวเรือนหลังใหญ่ยังคงเป็นรูปทรงอยู่ แต่หลังคายุบลงไปโดยมีกอไผ่กอใหญ่ถูกแรงระเบิดยกมาจากหลังบ้าน หล่นลงมาทับ ส่วนบ้านช่องของชาวบ้านแถบนั้นก็พลอยวอดวายไปด้วยฤทธิ์ลูกระเบิดเพลิงจนราบพนาสูญแทบจะไม่เหลือ!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin: 9pt 0in; line-height: 18pt;"><b><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">ช่วยต่ออายุคนตาย</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พูดถึงเรื่องที่เกี่ยวกับวิญญาณแล้ว ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เคยเล่าให้ฟัง</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ในรายการที่ท่านได้รับเชิญไปพูดเรื่องจิตกับวิญญาณในครั้งหนึ่งว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">มีญาติของคนไข้ผู้หนึ่งเชิญท่านไปรักษาเพราะคนป่วยมีอาการเพียบหนัก เมื่อท่านไปถึงบ้านก็ได้ตรวจอาการตามวิชาแพทย์ ซึ่งท่านมีความเชี่ยวชาญก็พบว่า ชีพจรของคนไข้หยุดเต้นแล้ว</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">! <span lang="TH">คนไข้ผู้นั้นถึงแก่กรรมก่อนท่านจะไปถึงชั่วเวลาประเดี๋ยวเดียว</span><span class="apple-converted-space">&nbsp;</span>!<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ครั้นวงศาคณาญาติของผู้ตายทราบเช่นนั้นก็พากันร้องไห้ด้วยความอาลัยอาวรณ์ในความดีของผู้ตายเป็นที่น่าเวทนา ทั้งร่ำร้องขอให้ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ หาทางช่วยเหลือให้คนตายฟื้นคืนสติอีกสักครั้ง เพราะพวกเขาทราบดีว่า ท่านมีความสามารถพอจะกระทำได้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ได้ฟังญาติของคนไข้รุมเร้าของความช่วยเหลือจากท่าน ดังนั้น ครั้งแรกท่านยังไม่กล้าที่จะรับปากพวกเขา</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เพียงแต่บอกว่าขอให้ท่านได้ตรวจดูตามหลักวิชาสมาธิของท่านดูก่อน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แล้วท่านก็เข้าสมาธิติดตามวิญญาณของชายคนไข้ที่ตายไป จนพบกับเทวดาที่รักษาอายุของเขา ท่านจึงได้ขอร้องกับเทวดาเพื่อขอชีวิตกลับคืนร่างตามเดิม ผลสุดท้ายได้มีการต่อรองกับเทวดารักษาอายุองค์นั้นโดยเทวดาได้ขอสัญญาว่า ถ้าให้วิญญาณของชายผู้นั้นกลับคืนสู่ร่างแล้ว จะต้องให้เขาบวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาชั่วระยะหนึ่ง ซึ่งท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ก็รับปากจะบอกญาติพี่น้องของเขาให้จัดการตามประสงค์ของเทวดาทุกประการ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;<span lang="TH">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ออกจากฌานสมาธิ จึงแจ้งให้วงศาคณาญาติของผู้ซึ่งถึงแก่กรรมไปแล้วให้ทราบ อันเป็นการนำความปลื้มปีติแก่พวกเขาเป็นอย่างมาก และต่างก็นั่งรอเวลาที่วิญญาณจะกลับคืนสู่ร่าง</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เวลาผ่านไปครู่ใหญ่ ๆ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ได้ตรวจอาการคนตายอีกครั้งหนึ่ง ปรากฏว่าหัวใจของชายผู้นั้นเริ่มเต้นช้า ๆ จนเข้าระดับปกติในเวลาต่อมาที่ไม่นานเท่าไหร่เลย !</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อชายผู้นั้นแข็งแรงดีแล้ว ญาติพี่น้องได้จัดการให้เขาอุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ตามข้อตกลงที่ท่านอาจารย์ได้ให้ไว้แก่เทวดารักษาอายุของเขา โดยไม่กล้าบิดพลิ้วแต่อย่างใด</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ได้บรรยายถึงการขอต่ออายุจากเทวดารักษาอายุด้วยการเปรียบเทียบให้ฟังว่า เสมือนเราต้องการสิ่งหนึ่งสิ่งใดในวัด เราจำเป็นต้องไปขออนุญาตตกลงกับเจ้าอาวาสหรือผู้ใหญ่ในวัดฉันใด การขอชีวิตก็จำเป็นที่จะต้องไปขออนุญาตตกลงกับเทวดาองค์ที่รักษาอายุของคนผู้นั้นฉันนั้น!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin: 9pt 0in; line-height: 18pt;"><a name="หลวงพ่อโต"><b><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">หลวงพ่อโต</span></b></a><b><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">นอกจากเรื่องดังกล่าว เมื่อครั้งวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๕ ได้มีการประกอบพิธีสำคัญขึ้น ณ วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม คือพิธีสร้างพระพิมพ์ สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) โดย พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ เป็นประธานนั้น นอกจากพระราชาคณะและพระคณาจารย์ผู้ทรงคุณวิเศษเลื่องลือเป็นที่รู้จักกันดีแล้ว พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ ยังได้เชิญท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ฯ เข้าร่วมในพิธีกรรมครั้งนั้นด้วย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ขณะที่พระราชาคณะและพระคณาจารย์ทั้งหลายกำลังสวดพระปริตรอยู่นั้น ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ได้นั่งสมาธิในขณะที่จิตสงบ ก็ได้เห็นวิญญาณของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) กำลังพินิจพิจารณาสิ่งของต่างๆ ภายในวงสายสิญจน์ ซึ่งเป็นสรรพวัตถุที่จะประมวลเข้าพิธีกรรม อันมีผงเกสรดอกไม้ต่างๆ รวมทั้งแม่พิมพ์ว่าจะเป็นของปลอมหรือของแท้ และขาดเหลือสิ่งใดบ้าง เมื่อพระคุณเจ้าสำรวจจนเป็นที่พอใจแล้ว ท่านก็เสด็จกลับขึ้นสู่พรหมโลก</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">จากนั้น ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ยังได้ทราบโดยทางฌานสมาธิอีกว่า วิญญาณของสมเด็จพุฒาจารย์ (โต) จะเสด็จจากพรหมโลกลอยเข้าสู่มงคลพิธีในเวลา ๑๕.๐๐ น</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">.<span class="apple-converted-space">&nbsp;</span>!<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พิธีการครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งได้จัดขึ้น ณ</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><a name="วัดสัมพันธวงศ์"><b><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">วัดสัมพันธวงศ์</span></b></a><span class="apple-converted-space"><b><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></b></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ซึ่งในครั้งนี้ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เป็นผู้อุปการะ และได้ร่วมกันจัดสร้างพระโดยศิษย์ของท่าน ในพิธีนี้มีพระราชาคณะและพระคณาจารย์ต่าง ๆ ผู้ทรงคุณวิเศษมาร่วมด้วยเป็นอันมาก</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อได้ฤกษ์ก็บังเกิดนิมิตประหลาด</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">บนท้องฟ้าที่กำลังแผดจ้าด้วยแสงแดดกำลังกล้า</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">กลับเปลี่ยนเป็นพยับโพยม เมฆฝนมืดทึบเคลื่อนมาปกคลุมทั่วท้องฟ้านภากาศในบัดดล</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ เห็นนิมิตดังนั้น</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">จึงได้เข้าไปทำการบูชาพระพุทธรูปในโบสถ์โดยฉับพลัน เพราะท่านทราบว่า การที่เกิดนิมิตประหลาดเช่นนี้</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">มิได้เกิดจากธรรมชาติและก็สมจริงทุกประการ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เพราะเมื่อท่านอาจารย์ขอบรมพุทธานุญาตนั่งสมาธิได้ครู่เดียว ท่านก็ทราบว่าดวงวิญญาณของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) ได้เสด็จมาถึงแล้วแต่ยังไม่ยอมเข้าที่ประทับ</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ด้วยยังไม่มีผู้ใดอัญเชิญ ท่านอาจารย์จึงออกจากสมาธิ สั่งให้เจ้าหน้าที่พิธีการอัญเชิญวิญญาณของสมเด็จฯ เข้าสู่ที่ประทับทันที</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อการณ์ทั้งหลายเป็นที่เรียบร้อย เมฆที่พยับโพยมบดบังแสงอาทิตย์ก็เคลื่อนคล้อยลอยไป จึงบังเกิดแสงสวางแผดจ้าทั่วท้องฟ้านภาลัยอีกครั้งหนึ่ง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ได้ช่วยเหลือผู้มีทุกข์จนปลายชีวิตของท่าน นั่นก็คือ ในคืนวันพุธที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๒๒ ท่านท้องเสียหลายครั้งมาแล้ว จึงทำให้อ่อนเพลียมาก จนเหมือนไม่รู้สึกตัว ทำให้บรรดาบุตรของท่านตกใจรีบติดต่อโรงพยาบาล ขณะนั้นคุณประยูร วงศ์ผดุง ได้พาแขกมาพบ เมื่อท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานฯ ซึ่งมีอาการหนักอยู่แล้วทราบว่ามีผู้มาขอความช่วยเหลือปัดเป่าทุกข์ของเขา ท่านก็ลืมทุกข์ของท่าน ได้พยายามช่วยเหลือแขกผู้นั้น ทั้ง ๆ ที่ท่านกำลังจะสิ้นแรง !</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">รุ่งขึ้นท่านเข้าโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า แล้วไม่ได้กลับบ้านอีกเลย !</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ผู้เขียนเชื่อเหลือเกินว่า วิญญาณอันบริสุทธิ์ของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ คงสถิตบนชั้นพรหม เพราะเมื่อยามมีชีวิตอยู่ท่านสามารถติดต่อกับท่านท้าวมหาพรหมผู้เป็นใหญ่แห่งสรวงสวรรค์ เพื่อปัดเป่าความทุกข์ของคนทั้งหลายเป็นเวลาเกินกว่าครึ่งของอายุท่าน ซึ่งผู้เขียนอยากจะกล่าวว่า เราจะหาผู้มีคุณธรรมสูงเช่นนี้ไม่ได้อีกแล้ว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o:p></o:p></span></p> Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “เดลินิวส์” อาทิตย์ที่ 13 มกราคม 2535 http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35116.html <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โดยทองทิว สุวรรณทัต</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;เดลินิวส์&rdquo; อาทิตย์ที่ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">13 <span lang="TH">มกราคม </span>2535<o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เนื่องจาก ได้มีอาจารย์บางท่านแอบอ้างว่าตนเป็นผู้ตั้งศาลท่านท้าวมหาพรหม ณ โรงแรมเอราวัณ ถึงกับมีผู้สงสัยหลายคนโทรศัพท์ ไปถามผู้เขียนนั้น ผู้เขียนขอยีนยันว่า ท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. เป็นผู้มอบหมายให้ คุณประยูร วงศ์ผดุง เป็นผู้ทำพิธีอัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมสถิตในพระรูปปั้น (ที่ออกแบบโดยคุณเจือระวี ชมเสวี และ ม.ล. ปุ่น มาลากุล เป็นผู้ออกแบบศาล) โดยเครื่องพิธีการทั้งหมดกำหนดด้วยการติดต่อทางจิต ผ่านท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ หรือพูดง่ายๆ ก็คือให้คุณประยูร วงศ์ผดุง เป็นผู้กระทำพิธี โดยการควบคุมของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ซึ่งในพิธีนี้มี พล.ต.อ.เผ่า ศรียานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจเป็นประธาน ทั้งนี้ก่อนหน้าที่จะตั้งศาลนั้น พล.ต.ต. ม.ล. จเร สุทัศน์ฯ ได้เชิญท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ไปพิจารณาเลือกสถานที่ ที่จะตั้งศาลถวายท่านท้าวมหาพรหม ในวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๔๙๙ และได้ทำพิธีเปิดโรงแรมเอราวัณ พร้อมทั้งทำพิธีบวงสรวงและอัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมประดิษฐานบนศาล ในวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๙</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 30pt; line-height: 18pt; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คราวนี้ ก็จะขอเล่าถึงคุณธรรมอันวิเศษของท่านอาจารย์ คุณหลวงสุวิชานแพทย์ต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span lang="TH" style="font-size: 11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">ช่วยหาปืนหายให้นาวิกโยธิน</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อครั้ง พล.ร.ท. ชื้น สนแจ้ง รับราชการอยู่ที่กรมนาวิกโยธินนั้น เกิดเหตุปืนเล็กยาวจำนวน ๑๐๐ กระบอกของกรมนาวิกโยธินหายไปโดยปราศจากร่องรอย ทำให้ท่าน พล.ร.ท. ชื้น ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบวิตกอย่างยิ่ง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">หลังจากได้สั่งให้ทหารภายใต้การบังคับบัญชาของท่านค้นหาจนทั่วไม่พบแล้ว ท่านไม่ทราบจะแก้ไขอย่างไรต่อไปจึงลองติดต่อกับท่านอาจารย์หลวงสุวิชานแพทย์ดู ท่านอาจารย์ทราบความแล้วได้นั่งสมาธิประเดี๋ยวหนึ่งก็บอกแก่ พล.ร.ท. ชื้น ว่าให้รีบไปค้นดูปืนจำนวน ๑๐๐ กระบอกนี้อีกครั้ง คนร้ายได้แยกไปซ่อนสองที่ ที่ละ ๕๐ กระบอก ที่แรกซุกซ่อนอยู่โดยมีของปกปิดไว้ อีกที่หนึ่งก็ซุกไม่ห่างกันนัก ขอให้ พล.ร.ท. ชื้น รีบกลับไปตรวจค้นก่อนที่ของจะเคลื่อนย้าย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พล.ร.ท. ชื้น ทราบดังนั้นก็รีบไประดมทหารออกค้นโดยด่วน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ปรากฏว่าได้พบปืนจำนวน ๕๐ กระบอกแรกอยู่ในกระสอบ ซ่อนไว้ในห้องหนึ่ง มีผ้าคลุมปิดเอาไว้ ส่วนอีก ๕๐ กระบอกหลังก็อยู่ในกระสอบเช่นกัน แต่อยู่อีกที่หนึ่งไม่ห่างไกลกันนักเพื่อเตรียมขนย้ายภายหลัง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin: 9pt 0in; line-height: 18pt;"><b><span style="font-size: 11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span lang="TH" style="font-size: 11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">แม่ย่านางเรือโบราณ</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">อีกเรื่องหนึ่งซึ่งแสดงให้เห็นถึง </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ตาทิพย์</span>&rdquo; <span lang="TH">ที่แม่นยำของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์มีดังนี้</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านผู้หนึ่ง ได้เล่าให้ฟังว่าไปซื้อที่ดินบริเวณชานเมืองไว้ผืนหนึ่ง กำหนดจะปลูกบ้าน ครั้นได้ฤกษ์งามยามดีก็ลงมือขุดหลุมเพื่อฝังเสาเรือน พอขุดลงไปได้ไม่ถึงครึ่งเมตรปรากฏว่าพบไม้กลมยาวขนาดใหญ่ท่อนหนึ่งฝังขวางทางอยู่ จึงพยายามขุดเอาไม้ออกจากที่นั่นเพราะมิฉะนั้นจะลงเสาเรือนไม่ได้ แต่จนแล้วจนรอดก็ไม่สามารถจะขุดเอาไม้ท่อนนั้นออกไปได้ ทั้งๆ ที่ระดมคนงานมานับสิบ จนอ่อนใจก็พอดีมีผู้แนะนำให้ท่านผู้นั้นไปลองเรียนถามท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ดู เขาจึงรีบอาบน้ำอาบท่าจัดแจงหาดอกไม้ธูปเทียนไปกราบท่านแล้วเล่าถึงอุปสรรคในการปลูกบ้านของเขาให้ท่านฟัง ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์นั่งสมาธิประเดี๋ยวเดียวก็บอกแก่เขาว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ใต้บริเวณพื้นดินที่ท่านผู้นั้นจะปลูกบ้านมีซากเรือโบราณอยู่ลำหนึ่งจมอยู่ การปลูกบ้านในครั้งนี้จึงมิใช่ปลูกบ้านบนพื้นดินอย่างบ้านเรือนของคนทั่วไป แต่เป็นการปลูกบ้านบนเรือโบราณนั้นเทียว!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แล้วท่านอาจารย์ก็ทำการบอกกล่าวแก่เจ้าของเรือโบราณลำนั้นขออย่าได้ขัดขวางการปลูกบ้านในภายหลัง และแนะนำให้เขาเอาเด็กเล็กๆ สัก ๕ คน แล้วหาเชือกเส้นเล็ก ๆ ธรรมดาไปผูกกับเสานั้นให้เด็กช่วยกันจูงขึ้นมา</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านผู้นั้นก็กราบลาอาจารย์กลับบ้าน แล้วไปเกณฑ์เด็กๆ ที่มีอายุ ๕ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ndash; <span lang="TH">๖ ขวบ มาได้ ๕ คน แล้วนำเชือกเส้นเล็ก ๆ ไปผูกกับท่อนไม้ขนาดใหญ่ที่จมอยู่ใต้ดิน</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ปรากฏเป็นที่น่าอัศจรรย์อย่างยิ่งที่ไม้จมดินขนาดผู้ใหญ่ชายฉกรรจ์จำนวนมากช่วยกันพยายามเอาเสาไม้ขึ้นเท่าไหร่ก็ไม่สำเร็จ แต่เพียงเด็กตัวเล็กๆ ๕ คน เท่านั้นก็สามารถจูงลากเสาไม้ท่อนนั้นขึ้นมาได้อย่างสบาย แทบจะพูดได้ว่าไม่ต้องใช้กำลังเลย!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อขุดและลากเสาต้นนั้นขึ้นมาแล้ว ท่านผู้นั้นได้พิจารณาดูก็เห็นมีลักษณะเหมือนเสาเรือในสมัยก่อนตรงตามคำบอกเล่าของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ซึ่งนั่งหลับตาเข้าสมาธิอยู่กับบ้านของท่านแท้ๆ แต่กลับเห็นและทำนายได้ถูกต้องแม่นยำ ทั้งยังช่วยขจัดอุปสรรคในการปลูกบ้านให้หมดสิ้นไปอีกด้วย !</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ต่อมาท่านผู้นั้นได้ฝันว่ามีผู้หญิงคนหนึ่งแต่งกายนุ่งห่มด้วยเสื้อผ้าสมัยโบราณสีแดงมาหา แต่มิได้พูดจาอะไร เพียงแต่มาปรากฏกายยืนมองเขาเฉยๆ ท่านผู้นั้นจึงได้ไปกราบเรียนท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์อีกครั้ง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์บอกว่าผู้ที่มาปรากฏกายในความฝันของเขานั้นคือ แม่ย่านางของเรือลำนั้น !</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ยังแนะนำให้เขากลับไปตั้งศาล แล้วอัญเชิญวิญญาณให้มาสถิตอยู่ในศาล และหมั่นทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่แม่ย่านางเรือเสมอๆ จะเกิดความเจริญรุ่งเรืองต่อไปในภายหน้าอย่างแน่นอน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เขาจึงรีบกลับไปปฏิบัติตามคำแนะนำของท่านทุกประการ และนับแต่นั้นก็มีแต่ความอยู่เย็นเป็นสุข มีความเจริญในทางราชการสืบมา</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin: 9pt 0in; line-height: 18pt;"><b><span style="font-size: 11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span lang="TH" style="font-size: 11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">ศาลพระเจ้าตาก</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์ คุณหลวงสุวิชานแพทย์ เป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องจากวงสังคมทั่วไปว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญทางฌานสมาธิยอดเยี่ยมผู้หนึ่ง ท่านได้รับเชิญเข้าร่วมพิธีสำคัญๆ มาแล้วมากมายแทบจะกล่าวได้ว่าที่ใดมีการประกอบพิธีสำคัญแล้วท่านจะต้องได้รับเชิญให้เข้าร่วมด้วยทุกครั้ง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ครั้งหนึ่งทางราชการตั้งศาลพระเจ้าตากสินที่ท้องพระโรง ณ โรงเรียนนายเรือนั้น (คงจะเป็นการบูรณะมากกว่า เพราะศาลพระเจ้าตากสิน ในพระราชวังเดิม ซึ่งเป็นศาลที่มีอยู่นานแล้ว)</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์ซึ่งได้รับเชิญเข้าไปร่วมด้วย ได้นั่งสมาธิชั่วครู่ก็ได้เห็นวิญญาณของพระเจ้าตากสินเสด็จมาในพิธีนั้น และทราบว่าทรงโสมนัสเป็นยิ่งนักที่มีผู้เลื่อมใสสร้างศาลและพระบรมรูปไว้สักการะ จึงได้ประสาทความศักดิ์สิทธิ์เพิ่มเติมไว้ที่ศาลของพระองค์นี้อีกด้วย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ผู้เขียนอยากให้บุคคลเช่น ท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. เกิดในยุคนี้เป็นที่สุด เพื่อจะได้ช่วยปัดเป่าความทุกข์ยากแก่คนทั่วไปอีกครั้ง เพราะทุกวันนี้คนไทยมีความทุกข์มากเหลือเกิน เจ้าประคุณเอ๋ย!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span><span style="font-size:11.0pt; font-family:'Tahoma','sans-serif'">----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o:p></o:p></span></p> Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “เดลินิวส์” อาทิตย์ที่ 20 กันยายน 2535 http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35117.html <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">โดยทองทิว สุวรรณทัต</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="fonttable" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:30.0pt;line-height:18.0pt;background:#FAFBF7"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;เดลินิวส์&rdquo; อาทิตย์ที่ </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">20 <span lang="TH">กันยายน </span>2535<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;">เพื่อให้ชีวประวัติของ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. ได้จบลงอย่างสมบูรณ์ จึงจะขอนำเรื่องเก่ามาเล่าใหม่เป็นบางเรื่องมาลง ณ โอกาสนี้ ทั้งนี้ ผู้ที่ยังไม่เคยทราบประวัติเรื่องราวของท่านจะได้ทราบโดยทั่วกันในครั้งนี้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif; background-color: rgb(250, 251, 247); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เรื่องเกี่ยวกับความมหัศจรรย์ในความสามารถอันพิเศษเหนือมนุษย์ธรรมดาอย่างเราๆ นั้น ดูจะไม่มีอะไรเหนือกว่า เรื่องที่แสดงให้เห็นได้ชัด ถึงความสามารถของท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ได้เท่ากับการอัญเชิญท่านท้าวมหาพรหมเสด็จลงมารักษาคนป่วยหนักยังโลกมนุษย์ โดยองค์ท่านจำแลงกายมาในรูปกายของคนๆ หนึ่ง ดังคำบอกเล่าของคุณตริทิพย์ พุธานานนท์ ภริยา พล.ท.พร้อม พุธานานนท์ อดีตเจ้ากรมจเรทหารบก</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เรื่องมีอยู่ว่า คุณพึ่งชม ไชยนันท์ พี่สะใภ้ซึ่งเป็นภรรยาของ พ.ท. โชคชัย ไชยนันท์ (ยศในสมัยนั้น) ป่วยหนัก หมอตรวจอาการแล้วไม่ทราบว่าเป็นโรคอะไรกันแน่ ตาบวมปิดทั้งสองข้าง และบวมหมดทั้งตัว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">สามีเห็นอาการภรรยาหนักจึงไปบอกญาติพี่น้องให้ทราบข่าวและต่างพากันมาเยี่ยม ซึ่งเมื่อเห็นอาการของคุณพึ่งชม ยามนั้นแล้วก็เห็นว่าอาการหนักจริงๆ ฝ่ายคุณพึ่งชมเห็นญาติพี่น้องร้องไห้เพราะเวทนาตนก็ร้องไห้ แล้วกล่าวลาตายแก่ญาติพี่น้องทุกคน อันเป็นเหตุการณ์ที่น่าสลดใจเป็นอย่างยิ่ง คุณตริทิพย์เองก็พลอยร้องไห้ไปด้วยเพราะสงสารพี่สะใภ้</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แต่ในท่ามกลางความโศกเศร้าอยู่นั้น คุณตริทิพย์ก็หาหนทางที่จะช่วยคุณพึ่งชมและเกิดนึกถึงท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ขึ้นมาได้ จึงรีบปรึกษา พ.ท.โชคชัย ผู้เป็นพี่ชายว่าจะไปหาท่านให้ลองช่วยเหลือ เพราะถ้าขืนปล่อยไว้เช่นนี้ เกรงจะไม่ดีแน่ พี่ชายก็เห็นด้วย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อตกลงใจดังนั้น คุณตริทิพย์ก็รีบไปหาท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ที่บ้านเชิงสะพานพระปิ่นเกล้าในเช้าวันรุ่งขึ้น</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พอทำความเคารพท่านเรียบร้อยยังไม่ทันจะเอ่ยปาก ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ก็บอก</span><span class="apple-converted-space"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&nbsp;</span></span><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ไม่ต้องพูด มาเรื่องคนเจ็บใช่ไหม </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">? <span lang="TH">คนไข้คนนี้ประตูสวรรค์เปิดแล้ว คนนี้ตายไปก็ไม่ตกนรก เพราะเป็นคนดี</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ต่อจากนั้นท่านก็ถามคุณตริทิพย์ว่า ตอนนี้คนป่วยตายหรือยัง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">?<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณตริทิพย์ เรียนว่า ยัง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านถามอีกว่า ทำไมไม่อยากให้ตาย</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณตริทิพย์ก็เรียนว่า เพราะเป็นพี่สะใภ้ แล้วเลยเรียนถามว่า พอจะมีทางไหม </span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">?<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านบอกว่า จะลองทูลถามท่านท้าวมหาพรหมดู แล้วท่านก็หลับตาเข้าสมาธิอยู่เป็นครู่หนึ่งจึงบอกวิธีแก้ไข ให้บนว่าถ้าหายแล้วจะถวายพระนอนขนาดหนึ่งในสามของคนเจ็บ แล้วกำชับให้มาส่งข่าวเมื่อครบสามวัน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อกลับมาทำพิธีตามที่ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์สั่งได้วันหนึ่ง คุณตริทิพย์ไม่กล้าไปเยี่ยมคนไข้ เพราะเห็นแล้วสงสารจับใจ ต่อเมื่อวันที่สองจึงไปเยี่ยมเพื่อดูอาการ จะได้กลับไปเรียนให้ท่านอาจารย์ทราบ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ฝ่ายคุณพึ่งชม เมื่อเห็นคุณตริทิพย์มาเยี่ยมก็บอกว่าตนสบายดีขึ้น แล้วก็เล่าให้คุณตริทิพย์ฟังว่า เห็นผู้ชายคนหนึ่งแต่งตัวดี เดินเข้ามาในห้องตอนเย็น แล้วคนไข้ก็ถามคุณตริทิพย์ ว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">นี่เธอเคยเห็นไหม คนเราหน้าสี่เหลี่ยม</span>?&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณตริทิพย์ก็เฉยไม่กล้าตอบและเสชวนไปคุยเรื่องอื่นๆ จนได้เวลาพอสมควรก็อำลากลับ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พอรุ่งขึ้นคุณตริทิพย์ก็ไปเยี่ยมคุณพึ่งชมอีก คราวนี้คุณพึ่งชมเล่าถึงผู้ชายคนนั้นว่ามาหาอีก และบอกว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">นี่เธอหน้าสี่เหลี่ยมป๊อกเขียว!</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">คุณตริทิพย์ได้ฟังแล้วขนลุกไปทั้งตัว !</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">พอครบกำหนดสามวันตามที่ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์สั่งไว้ว่าให้ไปบอกเรื่องอาการของคนไข้ คุณตริทิพย์ก็ไปหาท่าน และยังไม่ทันจะเอ่ยปากเรียนท่าน ท่านอาจารย์ก็ชิงบอกว่า</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">&ldquo;<span lang="TH">ท่านท้าวมหาพรหมท่านเสด็จไปเยี่ยม คนไข้คนนี้ท่านรับแล้วไม่เป็นไร</span>&rdquo;<o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ตั้งแต่นั้นมาอาการป่วยของคุณพึ่งชมก็ดีวันดีคืน จนหายเป็นปกติในเวลาต่อมา ระหว่างที่ป่วยอยู่นี้ผิวหนังลอกออกมาเป็นแผ่นๆ คนไข้ลองเก็บเอาไว้ปรากฏได้เป็นกระป๋องทีเดียว</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แต่ครั้นคุณพึ่งชมหายดีแล้ว เมื่อทราบเรื่องที่คุณตริทิพย์บนท่านท้าวมหาพรหมเอาไว้ ว่าจะสร้างพระนอนมีขนาดหนึ่งในสามของตนถวาย ก็เกิดเสียดายเงิน เพราะราคาสมัยนั้นตกราวๆ ๗</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">,<span lang="TH">๐๐๐ บาท</span><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ดังนั้นเมื่อหายเป็นปกติได้สองปี และยังไม่ได้ลงมือสร้างพระนอนดังกล่าว คุณพึ่งชมก็เกิดล้มป่วยมีอาการเช่นเดิมกล่าวคือ นัยน์ตาปิด และบวมไปทั้งตัว เลยต้องแก้บนด้วยการว่าจ้างช่างสร้างพระนอนขนาดหนึ่งสามของตน แล้วนำมาบูชาที่บ้าน หลังจากนั้นมีชีวิตอยู่ต่อมาอีก ๑๐ ปีเศษ จึงถึงแก่กรรม!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ที่เล่าเรื่องคุณธรรมอันวิเศษของ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ มาให้ฟังทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้ท่านผู้อ่านทั้งหลายได้พึงตระหนักว่าคนเราตายไปแล้วมิได้สูญ ยังมีวิญญาณที่คอยรับบุญรับบาปอยู่ ฉะนั้นตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่อย่าได้ประมาทเลย จงเร่งสร้างบุญสร้างกุศลกันเถิด จะได้มีความสุขทั้งยามเป็นและยามตายสมดังใจปรารถนาทุกท่านทุกคน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="headcenter" style="margin: 9pt 0in; line-height: 18pt;"><a name="ช่วยคลี่คลายเหตุการณ์ร้าย"><b><span style="font-size:11.0pt;font-family: 'Tahoma','sans-serif';color:#990000">&nbsp;</span></b></a></p> <p class="headcenter" style="margin-top:9.0pt;margin-right:0in;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:0in;line-height:18.0pt"><b><span lang="TH" style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000">ช่วยคลี่คลายเหตุการณ์ร้าย</span></b><b><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif';color:#990000"><o:p></o:p></span></b></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เมื่อครั้งโรงงานทอกระสอบ บริษัทกระสอบอีสาน (ปัจจุบันคือ บริษัท เอ็น.อี.พี อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน)) ที่ตำบลจอหอ จังหวัดนครราชสีมา เกิดความวุ่นวายเดือดร้อนมิรู้จักจบสิ้น อันสืบเนื่องมาจากเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงทำให้คนงานเสียชีวิตไปหลายต่อหลายราย เช่น รถยนต์คว่ำบ้าง คนงานผูกคอตายบ้าง คนงานทำปืนลั่นโดนเพื่อนตายบ้าง จนเป็นที่กล่าวขานแก่คนทั่วไปในละแวกใกล้เคียงมาช้านาน</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ทางการของโรงงานจึงส่งเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ไปพบท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ณ บ้านเชิงสะพานปิ่นเกล้า ในวันหนึ่ง</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">ท่านอาจารย์ฯ ทราบถึงความทุกข์ร้อนของโรงงานทอกระสอบแล้ว ท่านก็เข้าสมาธิพิจารณาสิ่งต่างๆ อย่างกว้างขวาง ปรากฏว่า ประการแรก สถานที่ตั้งโรงงานแห่งนี้มีวิญญาณจำนวนมากสิงสู่อยู่</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">บรรดาวิญญาณทั้งหลายไม่เคยได้รับส่วนบุญกุศลใดอุทิศไปให้เลยและ ประการที่สอง พระภูมิเจ้าที่ของสถานที่ไปอยู่ในที่อับไม่เหมาะสม คือด้านในของโรงงาน ไม่ควรแก่การคารวะ</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">แล้วท่านอาจารย์ฯ ก็แนะนำให้ทางโรงงานทอกระสอบจัดการทำบุญเลี้ยงพระเป็นการใหญ่ แล้วอุทิศส่วนกุศลผลบุญให้แก่วิญญาณที่สิงสู่อยู่ในนั้นเสีย และให้เลือกสถานที่ตั้งพระภูมิโดยให้ย้ายจากหลังโรงงานอันเป็นที่อับ ออกไปไว้ด้านหน้า ใครไปใครมาจะได้คารวะบูชาท่านได้สะดวก</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ทางโรงงานทอกระสอบจอหอทราบความที่ท่านอาจารย์ฯแนะนำไปเช่นนั้น ก็รีบจัดการทำบุญเลี้ยงพระอุทิศส่วนกุศลไปให้วิญญาณทั้งหลายที่สิงสู่อยู่ในบริเวณโรงงาน และได้ทำการตั้งศาลพระภูมิใหม่เมื่อปี ๒๔๙๘ จากนั้นมาอุบัติเหตุร้ายแรงต่างๆ ก็เงียบสงบไป</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin: 9pt 10pt; text-indent: 50pt; line-height: 18.75pt;"><span lang="TH" style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;">จากการสอบถามชาวบ้านเก่าแก่ในท้องที่ ได้ความว่า สถานที่ตั้งโรงงานแห่งนี้เป็นที่ที่ชาวเมืองใช้สำหรับนำศพไปฝัง ทำนองเป็นป่าช้ากระนั้น!</span><span style="font-size: 11pt; font-family: Tahoma, sans-serif;"><o:p></o:p></span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">&nbsp;</span></p> <p class="body150" style="margin-top:9.0pt;margin-right:10.0pt;margin-bottom: 9.0pt;margin-left:10.0pt;text-indent:50.0pt;line-height:18.75pt"><span style="font-size:11.0pt;font-family:'Tahoma','sans-serif'">----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o:p></o:p></span></p> Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “โลกทิพย์” ฉบับที่ 141 ปีที่ 8 เดือนพฤศจิกายน 2531 http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35120.html โดยทองทิว สุวรรณทัต<br /> &ldquo;โลกทิพย์&rdquo; ฉบับที่ 141 &nbsp;ปีที่ 8 เดือนพฤศจิกายน 2531<br /> คุณหมออาจินต์ บุญยเกตุ ต่อสู้กับวิญญาณที่ภูเก็ต<br /> &nbsp;<br /> เมื่อครั้งคุณหลวงสนั่นวรเวช หัวหน้ากองโรงพยาบาลส่วนภูมิภาค ไปตรวจราชการที่โรงพยาบาลภูเก็ต&nbsp;<em>(โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต)</em>&nbsp;เห็นความเป็นอยู่ของคุณหมออาจินต์และแพทย์ ซึ่งได้เพิ่มมาอีกคนคือ แพทย์หญิงทวีศิริ บำรุงสวัสดิ์ ซึ่งต้องฝากให้อาศัยอยู่กับคหบดีท่านหนึ่งในเมือง คุณหลวงสนั่นฯ เลยรับปากจะหางบประมาณมาสร้างบ้านพักแพทย์ให้ที่โรงพยาบาลนี้<br /> ประจวบกับท่านเจ้าคุณบริรักษ์เวชการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขบินไปตรวจราชการที่ภูเก็ตด้วย เมื่อเห็นสภาพของโรงพยาบาล ก็สั่งให้ทางกรมการแพทย์จัดสรรงบประมาณนี้อย่างรีบด่วน<br /> และอีกไม่กี่เดือนต่อมา ทางโรงพยาบาลภูเก็ตก็ได้งบประมาณสร้างบ้านพักแพทย์สำหรับผู้อำนวยการ บ้านพักแพทย์ประจำโรงพยาบาล เรือนคนงาน ซ่อมแซมหอพักผู้ป่วย โรงพยาบาลภูเก็ตก็ดูดีขึ้นตามลำดับ โดยขยายตึกตรวจโรคภายนอก ห้องผ่าตัด ซ่อมหอพักผู้ป่วย<br /> &nbsp;<br /> <strong>บ้านใหม่ของผู้อำนวยการ</strong><br /> สถานที่จะก่อสร้างบ้านพักผู้อำนวยการนั้น มีที่อยู่แห่งเดียวที่เหมาะสม คือ ด้านหน้าสุดของโรงพยาบาล ชิดกับขอบรั้วทางทิศตะวันออก เจ้าหน้าที่กรมและส่วนจังหวัดเห็นว่าเหมาะสมที่สุด เพราะเป็นที่ว่าง มีเนินเตี้ยๆ ฝนตกมากน้ำก็ไม่ท่วม<br /> การสร้างบ้านพักในความควบคุมของจังหวัดจึงได้เริ่มขึ้น โดยสร้างเป็นบ้านใต้ถุนสูง แบบบ้านพักแพทย์ของกรมการแพทย์ทั่วไป ใต้ถุนบ้านเทปูนซีเมนต์หนาเอาไว้สำหรับจอดรถ<br /> การสร้างใช้เวลาไม่เกินหกเดือนก็เรียบร้อย หน้าบ้านมีสนามแบดมินตันเอาไว้ออกกำลังกาย และสมานสามัคคีระหว่างข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน แต่บ้านนี้ไม่ได้ทาสีเพราะงบประมาณหมดเสียก่อน<br /> พอบ้านเสร็จ คุณหมออาจินต์ก็ย้ายครอบครัวมาอยู่และนิมนต์พระวัดโฆษิตฯ มาทำบุญขึ้นบ้านใหม่<br /> คุณหมอให้ภรรยาและบุตรอยู่ห้องต่างหาก ส่วนคุณหมอนอนอีกห้องหนึ่ง เพราะถูกปลุกในยามดึกเสมอ เกรงภรรยาและบุตรจะพลอยต้องตื่นไปด้วย<br /> &nbsp;<br /> <strong>อยู่ ๆ เดินไม่ได้ !</strong><br /> และแล้วเหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดฝันก็อุบัติขึ้นอีกครั้งหนึ่ง คุณหมออาจินต์เล่าว่า<br /> &ldquo;หนึ่งปีให้หลัง หรือประมาณนั้น วันร้ายคืนร้ายก็มาเยือนผมอีก<br /> กล่าวคือเช้าวันหนึ่ง ผมตื่นนอนแล้ว ลุกขึ้นจะไปห้องน้ำตามปกติ แล้วจะเดินย่องไปดูลูกสาวคนแรกที่นอนอยู่กับแม่เขาอีกห้องหนึ่ง<br /> พอลุกขึ้นก็เซหกล้ม เอามือยันไว้ นึกว่างัวเงีย เอาใหม่ ขยี้หู ขยี้ตาเสียหน่อยแล้วลุกขึ้นจะเดินไปห้องลูก ก็ล้มอีก ทีนี้ดังโครมใหญ่ !<br /> คุณแม่กับภรรยาผมก็ออกมาดู ถามว่า เป็นอะไร ? หน้ามืดรึ ?<br /> ผมก็บอกว่า ไม่เป็นไร แต่ขาสองข้างทำไมไม่มีแรงจะยืน<br /> ผมลองยันตัวขึ้นจะยืนก็ล้มอีก ทีนี้รู้เลยว่า ขาทั้งสองของผม ตั้งแต่บั้นเอวลงไปเป็นอัมพฤกษ์เสียแล้ว ! โดยไม่รู้สาเหตุ ไม่รู้จริงๆ<br /> เมื่อวานเย็นนี้ก็ยังเล่นแบดมินตันกับเพื่อนข้าราชการในจังหวัดที่โรงพยาบาล ก่อนนอนก็ยังดีๆ พอเช้าขึ้นมาทำไมเป็นอย่างนี้<br /> ผมก็ให้เขาไปเชิญคุณหมอพิทักษ์และคุณหมอทวีศิริมาช่วยตรวจอาการและระบบประสาทว่าเป็นอะไรที่ไหน ผลออกมาว่า ความรู้สึกส่วนล่างตั้งแต่สะโพกลงไปเสีย รวมทั้งประสาทสำหรับการเคลื่อนไหวด้วย เรื่องมันก็ใหญ่ ต่อไปอัมพาตก็จะเล่นงานผม สองหมอก็ช่วยกันวางยาฉีดหยูกฉีดยา<br /> จนวันที่สองก็ไม่ทุเลาขึ้น จึงรายงานไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งท่านกรุณามาเยี่ยม แล้วออกไปปรึกษากับคุณหมอพิทักษ์อยู่พักใหญ่ ท่านก็กลับ<br /> ผมก็เป็นห่วงงาน ห่วงคนไข้ คุณหมอพิทักษ์ท่านชำนาญทางโรคเด็ก คุณหมอทวีศิริก็สำเร็จใหม่ ยังต้องการพี่เลี้ยง ยังต้องการคำแนะนำ ผมก็มานอนแซ่วอยู่เฉย ๆ ยกขาได้ หยิกเจ็บแต่ไม่มีแรงจะยืน แล้วจะไปทำงานได้อย่างไร ?<br /> อีกสองวันต่อมา ก็ได้รับโทรเลขจากคุณหลวงนิตย์เวชวิศิษฐ์ อธิบดีกรมการแพทย์ว่า &ldquo;ให้ขึ้นไปกรุงเทพฯ ด่วนที่สุด จัดรถพยาบาลไว้รับที่ดอนเมืองแล้ว<br /> &nbsp;<br /> <strong>อดีตผู้อำนวยการป่วยทุกคน</strong><br /> คุณหมออาจินต์เล่าต่อไปว่า<br /> &ldquo;ผมเข้าใจว่า ผู้ว่าราชการจังหวัด ท่านขุนจรรยาวิเศษและคุณหมอพิทักษ์ที่ออกมาหารือกันนั้นก็คือจะส่งตัวผมไปกรุงเทพฯ โดยโทรเลขบอกมาทางกรมการแพทย์ ท่านอธิบดีในขณะนั้นท่านห่วงมาก เพราะที่ภูเก็ตนี่แพทย์ผู้อำนวยการทุกคนมีอาการป่วยแปลกๆ ดังนี้<br /> หมอฝรั่งคนแรกที่มาจากปีนัง ป่วยเป็นโรคเส้นโลหิตแตกเป็นอัมพฤกษ์ เจ้าคุณรัษฏาฯ ส่งตัวกลับไปปีนัง<br /> คนต่อมา คุณหลวงสนั่นวรเวช หัวหน้ากองโรงพยาบาลส่วนภูมิภาค ตอนหลังเป็นรองอธิบดี ท่านเคยเป็นผู้อำนวยการที่นี่ เกิดอาเจียนเป็นโลหิตช็อคไป ในที่สุดก็ต้องกลับมารักษาตัวที่กรุงเทพฯ<br /> คุณพระเวชฯ ผมจำสร้อยไม่ได้&nbsp;<em>(พระเวชกิจพิศาล&nbsp; (เจิม ดิลกแพทย์))</em>&nbsp;เป็นบิดาของนายแพทย์จินดา ดิลกแพทย์ เพื่อนผมคนหนึ่งซึ่งเพิ่งตายที่ภูเก็ต ท่านขุนทำนุกฯ สองท่านนี้เป็นอัมพฤกษ์<br /> คุณหมอเก้า ณ ระนอง ชื่อเดิม เบี่ยนเก้า จบแพทย์จากอังกฤษ ก็ป่วยหนักโดยไม่รู้สาเหตุ<br /> ต่อมา ร.ท.ปอง ว่องพยาบาล ก็อัมพฤกษ์ ขาเป๋ เดินกระโผลกกระเผลกป่านนี้อาจจะเสียชีวิตไปแล้ว<br /> ต่อมาก็ผม ทำงานได้ปีเดียวก็เกิดอัมพฤกษ์ไปเฉย ๆ ดังนี้<br /> ผู้อำนวยการถัดไปจากผมก็คือ คุณหมอสนอง กาญจนาลัย รายนี้อยู่เฉยๆ ก็อาเจียนเป็นโลหิตฟุบไป! ต้องส่งตัวกลับกรุงเทพฯ อีก ตอนนี้คงเกษียณแล้ว ก่อนเกษียณท่านเป็นแพทย์ใหญ่ประจำจังหวัด แล้วเลยมีครอบครัวจนบัดนี้<br /> ตกลงผมก็นอนเปลขึ้นเครื่องบินมากรุงเทพฯ ตามคำสั่งของกรมการแพทย์<br /> พอเดินทางถึงดอนเมือง รถพยาบาลที่คุณหลวงนิตย์ฯ ท่านสั่งไว้ ก็รีบไปรับตัวผมเข้าโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ทันที<br /> ตอนนั้นเป็นปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ปลายๆ ท่านอธิบดี หัวหน้ากอง พรรคพวก ไปเยี่ยมกันมากต่างสงสัย เพราะตรวจอะไรไม่พบสิ่งผิดปกติสักอย่าง&rdquo;<br /> &nbsp;<br /> <strong>ไปหาหลวงสุวิชานฯ</strong><br /> เมื่อคุณหมออาจินต์ บุญยเกตุ มานอนพักรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลจุฬาฯแล้ว วันหนึ่งคุณหลวงสนั่น ฯ ท่านไปเยี่ยมแล้วได้ปรารภเรื่องต่างๆ กับคุณน้าและญาติ ๆ ของคุณหมอว่า น่าจะลองให้ใครสักคนที่เก่ง ๆ ทางสมาธิ เข้าสมาธินั่งทางในดูซิว่ามันมีอะไรที่นั่น ? ทุกคนถึงได้เป็นอย่างนี้ ?<br /> คุณหมออาจินต์ฟังแล้วก็หัวเราะ เพราะตอนนั้นท่านยังไม่ได้บวชเรียน ยังไม่รู้จักคำว่า สมาธิ คำว่า ทางใน หรือคำว่า พลังจิตท่านไม่เชื่อถือ<br /> แต่เมื่อญาติผู้ใหญ่จะหารือกันอย่างไรท่านก็ตามใจ ไม่ขัดขวางได้แต่นอนหัดกระดิกขาทีละข้างสองข้างไปพลางๆ<br /> คุณน้ากับพี่สาวคนหนึ่งของคุณหมออาจินต์ได้ฟังคุณหลวงสนั่นฯ แนะนำเช่นนั้น ก็ได้ไปหาคุณหลวงสุวิชานแพทย์ที่บ้านท่านทางฝั่งธนบุรี<br /> ส่วนคุณหมออาจินต์นั้นท่านไม่เคยไป ไม่เคยรู้เรื่องของคุณหลวงสุวิชานฯ รู้แต่เพียงว่าท่านเป็นแพทย์ผู้หนึ่ง และเป็นพลเรือตรีเท่านั้น ท่านจึงไม่สู้จะสนใจเท่าใด<br /> (ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ท่านนี้ เป็นผู้อัญเชิญ ท่านท้าวมหาพรหมลงประทับที่ โรงแรมเอราวัณ ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในทางสมาธิเป็นเอก หาคนเปรียบมิได้ปัจจุบันท่านถึงแก่อนิจกรรมไปแล้ว &ndash; ผู้เขียน)<br /> &nbsp;<br /> <strong>ให้ทำสองอย่าง</strong><br /> คุณหมออาจินต์เล่าในตอนนี้ว่า<br /> &ldquo;คุณน้าและพี่สาวกลับมาหาผมที่โรงพยาบาล หลังจากได้พบคุณหลวงสุวิชานฯ แล้ว ท่านบอกว่า ไม่มีอะไรมาก ไม่ช้าก็หาย ไม่ต้องตกใจ<br /> เหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะ สถานที่ที่ก่อสร้างตั้งโรงพยาบาลภูเก็ตนั้น เดิมเป็นป่าช้าเก่าที่ฝังศพของคนจีน ภาษาจีนเรียกว่า &ldquo;ฮวงซุ้ย&rdquo;&nbsp;ทับถมกันมามากมายจนไม่มีที่จะฝังศพต่อไป<br /> เมื่อฮวงซุ้ยเต็มแล้ว ต่อมาเจ้าคุณรัษฏานุประดิษฐ์ เจ้าเมืองขณะนั้น เห็นว่าทิ้งไว้เป็นป่าหญ้ารกชัฏอย่างนั้น ไม่มีประโยชน์อะไร ทำเลที่ดินก็สวยเป็นเนินเขาเตี้ยๆ อากาศดี ท่านจึงได้เวนคืนที่ดินนี้มาก่อสร้างเป็นโรงพยาบาล<br /> ราษฏรในตอนนั้นก็ไม่นิยมไปรักษาตัว หมอก็ไม่มีจึงจ้างหมอฝรั่งมาจากปีนัง&nbsp;แต่หมอฝรั่งไปสร้างบ้านแบบฝรั่งอยู่บนเขาถัดออกไป ก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้นในตอนแรก ๆ มาเกิดป่วยเอาตอนหลัง<br /> ผมฟังแล้วงง ในเมื่อคุณหลวงสุวิชานฯ ท่านก็ไม่เคยไปโรงพยาบาลนี้เลย แต่ท่านนั่งทางในแลเห็นหมด เพราะฉะนั้นสิ่งลี้ลับ หรือวิญญาณต่าง ๆ จึงได้ปรากฏให้เห็นกันบ่อย ๆ<br /> ส่วนที่ผมป่วยในครั้งนี้ เป็นเพราะเจ้าที่เจ้าทางเป็นหญิงจีนแก่ คนชั้นสูงในสมัยนั้นทำโทษเอา&nbsp;ด้วยหมออาจินต์รับงบประมาณสร้างบ้านพักแล้วก็ไปสร้างทับตรงที่ฝังศพของหญิงชราผู้นั้นพอดี โดยไม่บอกกล่าว ไม่ขออนุญาตเสียก่อน คุณหลวงสุวิชานฯ ท่านสั่งผมว่า เมื่อหายแล้วให้กลับไปทำพิธีดังต่อไปนี้<br /> ๑. ขุดซีเมนต์ที่เทใต้ถุนบ้านออก แล้วขุดดินให้กว้างวายาวสองวา ลึกสองวา มาตราส่วนของท่านเป็นวาทั้งนั้น&nbsp;เมื่อขุดไปจะพบสิ่งของ ของผู้ตาย ไม่ว่าจะพบอะไรให้เอาขึ้นมาทำที่อยู่ให้เขาใหม่ ขอขมาลาโทษเขาเสีย แล้วทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ก็จะหมดเรื่อง<br /> ๒. สำหรับตอนนี้ท่านขอให้ทำสังฆทานอุทิศส่วนกุศลให้เขา และบรรดาท่านทั้งหลายที่ตายไปและฝังไว้ในบริเวณที่ก่อสร้างเป็นโรงพยาบาลในทุกวันนี้ พร้อมกันก็ให้สร้าง พระประจำวันองค์หนึ่งบูชา<br /> ญาติพี่น้องของผมในกรุงเทพฯ ก็ได้ช่วยกันทำตามที่ท่านสั่ง นับแต่นั้นมาอาการขาไม่มีแรงทั้งสองข้างก็ดีขึ้น แต่ก็ได้รับการรักษาทางปัจจุบันควบคู่ไปด้วย&nbsp;(เรื่องนี้เป็นเรื่องที่คุณหลวงสุวิชานฯ กำชับเสมอคือ แนะให้แก้ไขอย่างไรก็ทำไป แต่ที่หมอรักษา อยู่ก็อย่าละเลย)<br /> ผมนอนอยู่โรงพยาบาลยี่สิบวัน โดยใช้ไม้เท้ายันเหมือนคนแก่ ครั้นอาการดีขึ้นเกือบเป็นปกติ ผมก็ออกจากโรงพยาบาลจะกลับไปภูเก็ต<br /> คุณหลวงนิตย์ฯ ท่านยับยั้งไว้ให้ลาพักอีกหนึ่งเดือน<br /> คุณหลวงสนั่น ฯ ก็กำชับว่าให้ลองพิสูจน์ดูว่าเป็นอย่างที่ คุณหลวงสุวิขานฯบอกหรือไม่ ?<br /> ผมพักรักษาตัวที่กรุงเทพฯ ร่วมสองเดือนจึงเดินทางกลับภูเก็ตด้วยความยินดีของเพื่อนฝูงที่นั่น<br /> &nbsp;<br /> <strong>พิสูจน์คำพูด</strong><br /> เมื่อคุณหมออาจินต์กลับไปปฏิบัติราชการที่โรงพยาบาลภูเก็ตแล้ว อยู่มาวันหนึ่งคุณหมอก็ว่าจ้างคนงานภายนอกมาสามสี่คนให้ทำการรื้อปูนซีเมนต์ที่จอดรถออกแล้วสั่งให้ขุดดินกว้างวายาวสองวา ลึกสองวา ตามที่คุณหลวงสุวิชานฯพูด<br /> แต่วันแรกผิดหวัง ไม่พบอะไร ทั้งพนักงานโรงพยาบาลเกิดสงสัยว่า คุณหมอหายป่วยคราวนี้คงสติไม่สมบูรณ์ อยู่ ๆ เทปูนเสร็จเรียบร้อยไม่กี่เดือนกลับมาสั่งรื้อสั่งขุด คุณหมอก็บอกให้ทุกคนเฉยๆ ไว้ก่อน คุณหมอต้องการพิสูจน์อะไรบางอย่าง<br /> รุ่งขึ้นคนงานมาลงมือขุดต่อไปอีก เอาดินออกมากองไว้นอกชายคาบ้านเป็นกองใหญ่ ประเดี๋ยวเดียวก็มีเสียงร้องขึ้นมาว่า<br /> &ldquo;พบแล้วครับ! พบแล้วครับ!<br /> คุณหมอถามว่า &ldquo;พบอะไร&rdquo; ในใจนึกว่ากะโหลกผีหรือกระดูกต่าง ๆ<br /> ปรากฏว่าไม่ใช่ ! แต่เป็น กำไลหยกข้อมือแบบที่คนจีนสวม !<br /> คุณหมออาจินต์บอกว่า<br /> &ldquo;เมื่อเขาล้างสะอาดแล้ว ผมมองดู เป็นหยกจริงๆ ! สีเขียว ไม่แก่นัก ก็เอาใส่พานไว้ คนงานก็ขุดต่อไป<br /> ทีนี้พวกโรงพยาบาลทราบเรื่องก็มาเป็นไทยมุง มุงกันแน่นก็กลัวๆ กล้าๆ ทั้งนั้น เดี๋ยวเดียวก็ได้มาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ฟันทองคำหนึ่งซี่ และสุดท้ายก็คือ หวีเงินโค้ง ๆ ที่ใช้เสียบผมมวย!<br /> เขาพยายามอยู่จนค่ำก็ได้แค่นั้น ก็เป็นอันยุติ ผมขอให้ขนดินกลับมาถมไว้ที่เดิม แล้วต่อไปก็จะหาทรายมาเสริมและเทปูนอย่างเก่าอีก<br /> ตอนนี้พวกที่โรงพยาบาลวิพากษ์วิจารณ์กันใหญ่ ผมก็ต้องเล่าความจริงให้ฟังทั้งหมด<br /> ต่อมาผมสร้างศาลเล็ก ๆ หนึ่งศาล เอา กำไล หวี และฟันทอง รวมกันไว้แล้วเอาไปไว้ในศาลนิมนต์พระมารับสังฆทานอุทิศส่วนกุศลให้ผู้ที่เป็นเจ้าของ<br /> ทุกวันนี้ศาลนั้นก็ยังอยู่มุมรั้วด้านขวาสุด และเหนือสุดของโรงพยาบาลใกล้ๆ กับบ้านพักแพทย์ลักษณะเหมือนศาลพระภูมิ<br /> แต่พูดก็พูดเถิดบางอย่างมันพิสูจน์ไม่ได้ มันเป็น &ldquo;ปัจจัตตังเวทิตัพโพ&rdquo;<br /> ผมก็ยังข้องใจจนบัดนี้ว่า<br /> คุณหลวงสุวิขานฯ ท่านทราบได้อย่างไร ว่าที่ที่สร้างโรงพยาบาลอยู่นี้คือ ฮวงซุ้ยเก่า ซึ่งฝังศพจนไม่มีที่จะฝังต่อไปอีกแล้ว !<br /> &nbsp;<br /> ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “กระดูกบนเสากระโดงเรือ” ถ่ายทอดโดยทองทิว สุวรรณทัต http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35121.html ถ่ายทอดโดยทองทิว สุวรรณทัต<br /> &ldquo;กระดูกบนเสากระโดงเรือ&rdquo;<br /> เรื่องที่ท่านจะได้อ่านต่อไปนี้ เป็นเรื่องของท่านผู้หนึ่ง ซึ่งได้รับการติดต่อจาก อาจารย์ อุบล สุวรรณภาณุ ธิดาคนโตของท่านอาจารย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. ขอนำเรื่องประสบการณ์ของท่านผู้หนึ่งมาพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพท่านบิดา แต่เนื่องจากต้นฉบับได้รับหลังจากงานผ่านพ้นไปแล้ว จึงมิได้นำไปพิมพ์ในครั้งนั้นตามเจตนาของอาจารย์อุบลฯ จนเมื่อไม่นานมานี้ อาจารย์อารยา สุวรรณภาณุ ซึ่งเป็นน้องของอาจารย์อุบลไปพบต้นฉบับอีกครั้ง จึงขออนุญาตนำมาพิมพ์ในครั้งนี้<br /> ผู้เขียนต้องขอประทานอภัยที่มิได้เอ่ยนามเจ้าของต้นฉบับนี้ ทั้งนี้ เพราะไม่ปรากฏนามในต้นฉบับให้เอ่ยถึงได้เลย<br /> &ldquo;ผม (ท่านผู้ไม่ปรากฏนาม) ได้ทราบจากอาจารย์อุบล สุวรรณภาณุ ธิดาคนโตของ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. อดีตนายแพทย์ใหญ่กรมแพทย์ทหารเรือ ซึ่งถึงแก่อนิจกรรมไปแล้วนั้น มีความประสงค์จะให้ผมเขียนเรื่องของท่านเจ้ากรมฯ ที่ผมพอจะทราบบ้างไปให้ท่านเพื่อรวมเรื่องไปให้พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ<br /> ผมจึงขอเขียนเรื่องราวที่ได้รับทราบมาจากนายยุ้ย คนไทยเชื้อจีนไหหลำ ซึ่งขณะนี้ (พ.ศ. ๒๕๓๐) จะยังมีชีวิตอยู่หรือเปล่าก็ไม่สามารถจะทราบได้ เพราะไม่ได้พบกันมาประมาณ ๒๐ ปีแล้ว และผู้ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ผมคิดว่าปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๓๐) คงจะมีชีวิตอยู่น้อยราย เพราะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นร่วม ๔๐ ปี มาแล้ว ครั้งสงครามโลกครั้งที่ ๒ เพิ่งจะเลิกใหม่ๆ (สงครามยุติในปี พ.ศ. ๒๔๘๘)<br /> แต่ก่อนที่จะเล่าเรื่องต่อไป ก็จำเป็นต้องขออนุญาตเล่าประวัติย่อๆ ของผมสักเล็กน้อย กล่าวคือ อดีตผมเป็นนักเรียนนายเรือชั้นปีที่ ๔ ซึ่งเรียนไม่สำเร็จ และได้ออกมาหาเลี้ยงชีพโดยทำงานในเรือสินค้าที่เดินทางระหว่างกรุงเทพฯ กับต่างประเทศ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เมื่อ ๒๐ ปีมาแล้วผมทำงานอยู่เรือนครไทย ซึ่งเดินประจำกรุงเทพฯ &ndash; ญี่ปุ่น มี ร.ต.อมฤทติ วิสุทธิธรรม ร.น. (ถึงแก่กรรมไปแล้ว) เป็นนายเรือหรือที่ภาษาทั่วๆ ไปเรียกว่ากัปตันนั่นเอง ส่วนผมนั้นเป็นต้นหนที่ ๓ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ต่ำที่สุดของนายประจำเรือ (Deck Officer) ดังนั้นผมจึงได้คลุกคลีกับพวกลูกเรือ (Crew) ผมจะมีบ๋อยทำความสะอาดห้องพักของผมเป็นคนไทยเชื้อสายไหหลำ ชื่อ นายยุ้ย นามสกุลจำไม่ได้ ขณะนั้นมีอายุประมาณ ๕๐ ปี ผมเองในตอนนั้นอายุ ได้ ๓๕ ปี เราสนิทสนมกันมาก ผมชอบคุยกับแกเสมอ เพราะแกมีประสบการณ์ในการทำงานบนเรือสินค้ามากกว่าผม และพอจะเข้าใจภาษาไทยได้ ถึงแม้จะพูดไทยไม่สู้จะชัดเจนนักก็ตาม<br /> เรื่องที่แกเล่าให้ฟังเรื่องหนึ่งมีดังนี้ : -<br /> เมื่อตอนสงครามโลกครั้งที่สองเลิกใหม่ ๆ รัฐบาลไทยได้รับเรือสินค้าเก่าจากสหรัฐอเมริกามาหลายลำในจำนวนนั้นมีอยู่ลำหนึ่งทางราชการเปลี่ยนชื่อเรือเป็น เรือนางเสืองนาวา&nbsp;มีคุณหลวงดำรงฯ เป็นนายเรือหรือกัปตัน วิ่งรับส่งสินค้าระหว่างกรุงเทพฯ กับสิงคโปร์ เป็นประจำ ตัวนายยุ้ยเป็นบ๋อยคอยรับใช้กัปตัน มีหน้าที่ทำความสะอาดห้องนอนและยกอาหารให้กัปตันรับประทาน<br /> ต่อมาในเรือเที่ยวหนึ่ง ที่เดินทางจากสิงคโปร์มากรุงเทพฯ กัปตันเรือซึ่งปกติเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ถึงแก่กรรมบนเตียงนอนโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่ส่วนมากเข้าใจกันว่าหัวใจวาย ขณะที่เรือเพิ่งเริ่มออกมาจากทางสิงคโปร์ได้เพียงวันเดียว ยังเหลืออีกสองวันจะถึงกรุงเทพฯ<br /> เมื่อถึงกรุงเทพฯ แล้ว ทางบริษัทไทยเดินเรือทะเล ซึ่งเป็นเจ้าของเรือ ได้เชิญคุณหลวงสุวิชานแพทย์ มาที่เรือและขอความกรุณาให้ท่านนั่งทางในตรวจดูเหตุการณ์ในเรือนางเสือง<br /> คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ผู้ไม่เคยขึ้นมาบนเรือนางเสืองสักครั้ง ได้นั่งทำสมาธิตรวจดูชั่วครู่ก็บอกว่า มีกระดูกคนตายเป็นฝรั่งสองคนผัวเมียถูกฆ่าตายอยู่บนเรือลำนี้นานมาแล้วก่อนที่จะมาเป็นของไทย และกระดูกนี้อยู่บนยอดเสากระโดงเรือ ขอให้ลูกเรือปีนขึ้นไปเอามาให้ท่าน<br /> ลูกเรือคนหนึ่งปีนเสากระโดงเรือไปจนสุดเสา ก็พบห่อผ้าเก่าห่อหนึ่งอยู่บนยอดเสา จึงนำมาให้ท่าน<br /> คุณหลวงสุวิชานแพทย์ ได้แกะห่อผ้าให้ทุกคนที่ชุมนุมกันอยู่ดู ปรากฏว่า มีกระดูกเก่า ๆ อยู่ในห่อผ้านั้นหลายชิ้น !<br /> คุณหลวงฯ ได้แนะนำให้ทางบริษัทไทยเดินเรือทำบุญแผ่กุศลให้เจ้าของกระดูก&nbsp;นับแต่นั้นมาเรือนางเสืองก็สงบเรียบร้อย ไม่มีเหตุการณ์ร้ายใด ๆ เกิดขึ้นอีกเลย<br /> คุณธรรมอันวิเศษของ ท่านอาจารย์ พล.ร.ต.หลวงสุวิชานแพทย์ ร.น. เมื่อครั้งท่านมีชีวิตอยู่นั้น จนบัดนี้ยังหาท่านผู้ใดเทียบมิได้<br /> ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “ล่ากระทิง” สารคดีชุดล่องไพร บุกป่าฝ่าดงดิบ โดย ชาลี เอี่ยมกระสิทธุ์ http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35122.html &ldquo;ล่ากระทิง&rdquo; สารคดีชุดล่องไพร บุกป่าฝ่าดงดิบ<br /> โดย ชาลี เอี่ยมกระสิทธุ์<br /> เรื่องของไสยศาสตร์ เรื่องความลี้ลับในป่า โดยเฉพาะทางสามแพร่งกลางดงดิบ พรานช่วยได้เล่าถึงความเป็นมาให้พวกเราฟัง ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ารู้สำหรับพวกเราที่ชอบใช้ชีวิตออกป่าดงพงไพรอยู่เสมอมา และการปรับชีวิตให้เข้ากับชีวิตพรานนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างชนิดอย่าได้ฝ่าฝืนกันเป็นอันขาด<br /> พรานช่วยเล่าว่า<br /> บนเส้นทางสามแพร่งนี้แต่เดิมมาก็มิได้มีศาลเพียงตา แต่มันมีเหตุผลให้รถชนกันตรงทางสามแพร่งนี้บ่อยที่สุด ทั้งๆ ที่ไม่ควรจะชนเพราะว่าใช่ว่ารถมันจะวิ่งผ่านกันบ่อยนัก แต่ละครั้งที่ชนกัน จะต้องมีคนตายเสมอหรือไม่ก็บาดเจ็บสาหัสถึงพิการไปเลย ผู้เป็นเจ้าของเหมืองเห็นว่า ตรงทางสามแพร่งนี้น่าจะมีอาถรรพ์ เชื่อกันว่าอาจมีวิญญาณหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เป็นเจ้าที่เจ้าทางเจ้าป่าเจ้าเขาอารักขาอยู่ เมื่อไม่ได้รับการเซ่นไหว้ตาที่ควร จึงบันดาลให้เกิดเหตุร้ายถึงตายตรงทางสามแพร่งนี้เสมอมา เจ้าของเหมืองแร่มิได้นิ่งนอนใจ ได้นำเรื่องร้ายนี้ไปปรึกษาท่านผู้ใหญ่ที่มีความรู้ในเรื่องนี้ว่าควรจะแก้ไขหรือทำอย่างไรดี ได้รับคำแนะนำให้ไปพบพลเรือตรีหลวงสุวิชานแพทย์ ซึ่งเป็นที่เลื่อมใสกันมากว่าเป็นผู้ที่ทรงคุณวุฒิในเรื่องการนั่งทางใน สามารถที่จะถอดกระแสจิตออกไปหยั่งรู้ถึงต้นเหตุที่ทำให้เกิดอาเพศต่าง ๆ<br /> เมื่อทราบถึงเหตุร้ายจากทางสามแพร่งนี้เจ้าของเหมืองจึงได้รับคำแนะนำจากหลวงสุวิชานฯ หลังจากท่านได้นั่งทางใน เพื่อปล่อยกระแสจิตออกไปยังทางสามแพร่งแห่งนี้แล้ว<br /> ตรงทางสามแยกแห่งนี้ เดิมนั่นมีวิญญาณของเจ้าแม่กะเหรี่ยงสิงสถิตอยู่บนไม้ใหญ่ต้นหนึ่ง ต่อมาเมื่อมีการทำเหมืองทำทางลำเลียงขนส่งแร่ ต้นไม้น้อยใหญ่ต้องถูกโค่นบุกเบิกให้เป็นช่องเป็นทาง และบังเอิญต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งอันเป็นที่สิงสู่ของวิญญาณเจ้าแม่กระเหรี่ยงก็ต้องถูกโค่นลงด้วย แน่ละวิญญาณของเจ้าแม่กะเหรี่ยงนั้นก็กริ้วโกรธ บันดาลให้เกิดอาเพศเหตุร้ายตรงทางสามแพร่งนี้เรื่อยมา วิธีแก้ไขมีทางเดียวให้เจ้าของเหมืองทำการปลูกศาลเพียงตา เพื่อให้วิญญาณของเจ้าแม่นี้ได้สิงสถิตแทนไม้ใหญ่ที่เคยอยู่ แล้วเหตุร้ายที่เกิดขึ้นจากรถชนกันก็จะสิ้นสุดลง ดังนั้น การเซ่นไหว้ทำพิธีสร้างศาลเพียงตาก็ได้ทำขึ้นและอัญเชิญวิญญาณของเจ้าแม่กะเหรี่ยงขึ้นศาล เจ้าแม่กะเหรี่ยงนี้มีชื่อว่า &ldquo;เจ้าแม่กาลิโท่&rdquo;<br /> นับว่าเป็นเรื่องของป่าๆ ดงๆ เรื่องของมนต์ดำซึ่งหลายท่านอาจจะเห็นเป็นเรื่องเหลวไหล ขณะเดียวกันด้วยความเชื่อว่าสิ่งเหล่านี้เหลวไหลนั่นเอง เพื่อนของเราหลายคนก็เกือบจะต้องเอาชีวิตไปทิ้งเสียในป่าด้วยการกระทำอันเย้ยหยันต่ออำนาจมืดในป่าดิบและดงดำ ข้าพเจ้าเชื่อว่าความประหลาดล้ำในป่าเป็นความจริง!<br /> เรื่องของวิญญาณ เรื่องไสยศาสตร์ในป่าสูงนั้น แม้ว่าท่านจะไม่ศรัทธากับเขาพรานป่า ก็อย่าไปลบหลู่จะดีกว่า นอกจากจะไปทำให้ขุ่นเคืองในการเดินป่าที่จะต้องร่วมทางกันไปนานวันแล้ว เหตุยุ่งยากย่อมจะติดตามมาอีกหลายเรื่อง<br /> หลังจากพิธีตั้งศาลเพียงตาอันเชิญวิญญาณของเจ้าแม่กาลิโท่ มาสิงสถิตอยู่ที่ไม่ใหญ่ทีโค่นไปแล้ว ปรากฏว่ามิได้มีอุบัติเหตุจากรถชนกันตรงทางสามแพร่งนี้อีกเลย<br /> ทำนองเดียวกันนี้ ท่านผู้อ่านที่ติดตามอ่านเรื่องป่าสูงยูงยางมานี้ก็คงจะเข้าใจดีว่า ทำไมสายตาของคนเราจึงมองปาไม้เห็นไม่เหมือนกัน เมื่อข้าพเจ้ามองเห็นเสือสมิงกลางหนองบัวตัวนั้นเป็นสุ่มปลา ขณะที่เพื่อนและพรานมองเห็นเป็นเสือลายพาดกลอน<br /> เรื่องใครจะตาฝาดหรือภาพนั้นหลอนไม่มีใครอธิบายได้ในเมื่อเราเห็นกันอย่างชัดแจ้งท่ามกลางแสงไฟสว่างจ้า และไม่มีใครเมาหรือตาลาย แต่มันก็เห็นผิดกันไปได้เช่นนี้ เขายิงคนหรือยิงเสือ แต่การยิงในระยะฉกรรจ์นั้นก็พลาด ข้าพเจ้าโล่งอกไปเพราะตะโกนเสียงหลงไปว่า &ldquo;อย่ายิง - นั่นคน&rdquo; แต่เสียงปืนลั่นแล้ว ที่ตรงขอบหนองนั้นไม่มีทั้งคนและเสือเค้เก้อยู่ นอกจากรอยเลือดเสือลายพาดกลอนขนาดเขื่องทิ้งไว้เห็นเด่นชัด เรื่องของป่ามักจะเป็นเช่นนี้<br /> เรื่องมหัศจรรย์นี้มิได้เกิดเพียงกับพวกเราที่ตระเวนไพรมานับสิบ ๆ ปี แต่ได้เกิดขึ้นกับพรานอเมริกันเพียงชั่วที่เขาได้มาตระเวนกับเราเป็นครั้งแรก เพราะพรานอเมริกันอาจจะเข้าใจดีถึงขนบประเพณีพรานทางเอเซียว่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเข้ากับความเป็นไปกับป่านั้นได้ ผลของการกระทำตนเป็นไปตามแบบฉบับของพรานป่าจึงเป็นผลให้เขาประสบความสำเร็จในการออกป่าล่าสัตว์ได้อย่างงดงามที่สุดอย่างที่ไม่มีใครคาดคิดมาก่อน<br /> พรานคนหนึ่งเตือนเราว่า<br /> &ldquo;อีกไม่ช้าเรากำลังจะเดินทางเข้าไปในป่า กวาง&rdquo;<br /> &ldquo;ใครว่า&rdquo; เสียงอำนวย เหล่าบุญมีถาม &ldquo;เมืองกวางกระนั้นหรือ&rdquo;<br /> &ldquo;กวางและกวางเต็มไปหมด&rdquo; เสียงพรานตอบ &ldquo;นายจะพบแต่กวางทั้งป่า&rdquo;<br /> เราผ่านศาลเจ้าแม่กะเหรี่ยงกาลิโท่ สามแยกมฤตยูที่ปัจจุบันไม่มีอันตรายอันใดเกิดขึ้นอีกแล้ว หลังจากที่เจ้าของเหมืองได้สร้างศาลให้เจ้าแม่ได้พักพิงเป็นสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ของชาวป่าชาวเหมือง พร้อมด้วยเรื่องราวในอดีตอันน่าพิศวง เรื่องของวิญญาณ เรื่องของความเร้นลับที่ไม่อาจพิสูจน์กันได้อย่างชัดแจ้งตามที่สายตาของเรามองทางสามแพร่งแหงนี้แล้วก็ไม่น่าเลยทีเดียวที่จะเกิดเหตุร้ายแรงถึงกับรถชนกันตายได้บ่อย ๆ รวมทั้งรถมาพลิกคว่ำจำหงายตรงทางสามแพร่งนี้ เนื่องจากความเงียบเชียบของป่าย่อมจะทำให้เสียงเครื่องยนต์ดังกระหึ่มก้องไปกับราวป่า ล้อที่บดไปบนดินนั้นจะต้องสะเทือนอย่างแรงและได้ยินไกลมากประกอบกับหูที่คุ้นกับเสียงของสารถีผู้ชำนาญทางจะได้ยินและจะต้องรั้งรอความเร็วเมื่อถึงทางสามแพร่ง และแน่ละ และนานหนักหนากว่ารถจะแล่นมาสวนกันสักครั้งหนึ่ง แต่รถก็ประสานงากันจนได้อำนาจมืดอันใดกระนั้นหรือแน่ละ ชาวป่าและชาวเหมืองยกมือขึ้นวันทากันอย่างเคารพด้วยใจจริง นับแต่ศาลนี้ได้ประดิษฐานขึ้นแล้ว เหตุร้ายจากรถคว่ำหรือชนกันก็ไม่เกิดขึ้นบนทางสามแพร่งอีกเลย<br /> &nbsp;<br /> ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700 “ประวัติรุกขเทวดาศาล” กรมสวัสดิการทหารเรือ โดย ว่าที่เรือเอกสวัสดิ์ พัฒนเกิดผล รวบรวมและเรียบเรียง http://suwichan.myreadyweb.com/article/topic-35123.html &ldquo;ประวัติรุกขเทวดาศาล&rdquo; กรมสวัสดิการทหารเรือ<br /> โดย ว่าที่เรือเอกสวัสดิ์ พัฒนเกิดผล รวบรวมและเรียบเรียง<br /> &nbsp;<br /> รุกขเทวดาหรือพฤกษเทพทั้ง ๒ องค์ ซึ่งประดิษฐานอยู่ในศาลของกรมสวัสดิการทหารเรือมีความเป็นมาดังนี้ คือ เมื่ออาคารกรมสวัสดิการทหารเรือ&nbsp;&nbsp;อันได้สร้างตั้งอยู่ ณ บริเวณท่าช้างวังหลวง และสนามด้านเหนือของพระที่นั่งราชกิจวินิจฉัย&nbsp;หรือท่าราชวรดิษฐ์&nbsp;จำต้องขยายตัวอาคารมาทางด้านทิศใต้ และในส่วนของทิศนี้มีต้นไทรใหญ่อายุหลายชั่วคนกีดขวางอยู่ ถ้าไม่ตัดแล้วก็จะปลูกสร้างขยายตัวอาคารไม่ได้<br /> ท่านเจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือสมัยนั้น คือ พลเรือตรี หลวงเจียรกลการ จึงได้นำความประสงค์นี้ไป ปรึกษาและขอทราบผลจากท่านนายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ คือ พลเรือจัตวา หลวงสุวิชานแพทย์ ผู้ทรงคุณวุฒิทางจิตศาสตร์ ท่านผู้นี้ได้ใช้จิตศาสตร์ตรวจดูก็ทราบได้ว่า ต้นไทรนี้มีรุกขเทวดาสิงสถิตอยู่ถึง ๒ องค์ เป็นพี่น้องกัน และทราบถึงเทวเจตนาของรุกขเทพว่าไม่ขัดข้องในการตัดต้นไทร แต่มีเทวจำนงให้สร้างศาลขึ้นประทับแทน ตามเทพประสงค์นี้<br /> ท่านเจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือได้ถวายความสอดคล้องตามเทพโองการ แต่พฤติการณ์เรื่องสร้างศาลกวาจะสำเร็จต้องกินเวลานาน ส่วนการตัดต้นไม้ต้องการรีบด่วน ท่านเจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือจึงได้นำเจตน์จำนงนี้ไปหารือนายแพทย์ใหญ่ทหารเรืออีกครั้งหนึ่ง ก็ทราบเทวบัญชาจากจิตศาสตร์ของนายแพทย์ใหญ่ทหารเรือว่าให้สร้างเทวรูปขึ้น แล้วเชิญสิงสถิตและเชิญขึ้นประทับชั่วคราวบนกรมสวัสดิการทหารเรือเสียก่อน จึงตัดต้นไทรได้<br /> พิธีกรรมตามเทวประสงค์จึงได้ประกอบขึ้นเมื่อวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๗&nbsp;เวลา ๐๗.๐๐ น. และการตัดต้นไทรได้กระทำลงเมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เมื่อศาลได้สร้างสำเร็จเรียบร้อยแล้วจึงได้เชิญเทวรูปทั้งสององค์จากห้องชั้นสามของกรมสวัสดิการทหารเรือมาประทับประดิษฐาน ณ ศาลนี้ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๙๗ เวลา ๐๙.๓๐ น. และประกอบพิธีบวงสรวงด้วยเครื่องสังเวยอย่างละคู่ครบกระบวนการแบบพิธีทุกประการ&nbsp;พรั่งพร้อมด้วยข้าราชการทหารเรือทั้งชั้นสัญญาบัตร และต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตรในกรมสวัสดิการทหารเรือ มีพลเรือตรี หลวงเจียรกลการ อดีตเจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือ&nbsp;และพลเรือจัตวาสวัสดิ์ คงสิริ เจ้ากรมสวัสดิการทหารเรือ แห่ห้อมล้อมเชิญเทวรูปมาสู่ศาลและต่างถวายเครื่องสักการะบวงสรวงพร้อมกัน ในพิธีบวงสรวงสังเวยเชิญขึ้นประทับศาลนี้ ว่าที่เรือเอก สวัสดิ์ พัฒนเกิดผล เป็นผู้ประกอบพิธี<br /> อนึ่ง ความอัศจรรย์ในเทพฤทธิ์ดังปรากฏมีหลายคราว เช่น ครั้งหนึ่ง เมื่อกำลังสร้างศาลยังไม่เสร็จและอยู่ในลักษณะล่าช้า ทั้งในที่ประทับชั่วคราวบนกรมสวัสดิการทหารเรือได้มีผู้มาฝึกหัดละครอึกทึกครึกโครม เทพฤทธิ์ทั้งสององค์ได้ไปปรากฏเป็นนิมิตฝันแก่พระครูศิวาจารย์ (พราหมณ์) ณ สถานที่โบสถ์พราหมณ์ ตำบลเสาชิงช้า ซึ่งได้เป็นผู้บวงสรวงสังเวยและประกอบพิธีกรรมเชิญสิงสถิตเทวรูปและเชิญประทับชั่วคราว บนกรมสวัสดิการทหารเรือตลอดจนทำพิธีตัดต้นไทร ในนิมิตนั้นได้ปรากฏองค์และมีเทวดำรัสว่า &ldquo;จะให้อยู่กันอย่างนี้หรือหนวกหูออก เขาหัดละครกันที่นั้น&rdquo; ทั้ง ๆ ที่พระครูศิวาจารย์ก็ไม่ทราบความจริงเช่นนี้มาเลย<br /> ต่อมาพระครูศิวาจารย์ได้มาเล่าถึงเทพนิมิตและเทวดำรัส&nbsp;ความจึงปรากฏว่าเป็นความจริงดังนั้น<br /> อึกครั้งหนึ่งใน ระยะเวลากาลต่อมา ศาลซึ่งกำลังสร้างอยู่ในขณะนั้นค่อนข้างล่าช้ามาก รุกขเทพทั้งสองก็ได้แสดงให้ปรากฏแก่ พลเรือตรีหลวงเจียรกลการ โดยให้มีอาการปวดยอกในส่วนหัวไหล่ข้างซ้ายและปวดศีรษะแม้จะรักษาอย่างใด ๆ ก็ไม่หาย จึงได้มาขอความเห็นจาก พลเรือจัตวาหลวงสุวิชานแพทย์<br /> นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ ผู้มีญานทางจิตศาสตร์ ท่านนายแพทย์ใหญ่ทหารเรือจึงใช้วิชาจิตศาสตร์ตรวจดูก็ทราบได้ว่า อาการนี้เป็นเพราะฤทธิ์ทั้งสององค์ ต้องเร่งก่อสร้างศาลให้ลุล่วงแต่โดยเร็วอาการป่วยก็จะหาย&nbsp;พลเรือตรีหลวงเจียรกลการ ได้ทราบแล้วจึงได้ปฏิบัติการตามนัยนั้น อาการป่วยก็เริ่มบรรเทาและหายลงสนิท เมื่อได้เชิญเทวรูปขึ้นสู่ศาลเรียบร้อย อีกประการหนึ่งคือ ทรวดทรงเทวรูปเครื่องทรงเทวลังการและศาลก็ได้จัดทำขึ้นตามเทวประสงค์ ดังปรากฏในจิตศาสตร์ของพลเรือจัตวาหลวงสุวิชานแพทย์ทุกประการ<br /> ในการสร้างศาลรุกขเทพนี้ ท่านผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือเอกหลวงยุทธศาสตร์โกศล เมื่อได้ทราบเทพเจตนาจาก พลเรือตรีหลวงเจียรกลการ เรียนปฏิบัติแล้ว ก็ได้เห็นชอบและมีความกรุณาสนับสนุนอนุมัติให้ดำเนินการได้ กรมโยธาเทศบาลเป็นผู้รับไปจัดสร้าง เป็นราคา ๗๕,๐๐๐.๐๐ บาท จากวงเงินงบประมาณของกองทัพเรือ<br /> รุกขเทวดาทั้งสององค์นี้ เมื่อบวงสรวงสังเวยเชิญขึ้นสู่ศาลได้ใช้นามประกอบบทสังเวยองค์พี่ใช้นามว่า &ldquo;เชษฐชัยมงคลพฤกษเทวบุตร&rdquo; องค์น้องใช้นามว่า &ldquo;กนิษฐชัยมงคลพฤกษเทวบุตร&rdquo;<br /> &nbsp;<br /> ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- Fri, 03 May 2013 05:52:00 +0700